LASTEST NEWS

25 เม.ย. 2567(( รวมลิงก์ )) ประกาศผลการย้ายครู ครั้งที่ 1 ประจำปี พ.ศ.2567 ทุกจังหวัด ทุกเขตพื้นที่ฯ ทั่วประเทศ 25 เม.ย. 2567สพป.บุรีรัมย์ เขต 1 ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 รอบที่ 1 (ครั้งที่ 1) - ผลย้ายครู 2567 สพป.บุรีรัมย์ เขต 1 25 เม.ย. 2567(( รวมลิงก์ )) ประกาศผลการย้ายครู ครั้งที่ 1 ประจำปี พ.ศ.2567 ทุกจังหวัด ทุกเขตพื้นที่ฯ ทั่วประเทศ 25 เม.ย. 2567สพป.เพชรบูรณ์ เขต 2 ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 รอบที่ 1 (ครั้งที่ 1) - ผลย้ายครู 2567 สพป.เพชรบูรณ์ เขต 2 25 เม.ย. 2567สพป.บุรีรัมย์ เขต 2 ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 รอบที่ 1 (ครั้งที่ 1) - ผลย้ายครู 2567 สพป.บุรีรัมย์ เขต 2 25 เม.ย. 2567สพม.สุราษฎร์ธานี ชุมพร ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 รอบที่ 1 (ครั้งที่ 1) - ผลย้ายครู 2567 สพม.สุราษฎร์ธานี ชุมพร 25 เม.ย. 2567สพป.สุราษฎร์ธานี เขต 1 ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 รอบที่ 1 (ครั้งที่ 1) - ผลย้ายครู 2567 สพป.สุราษฎร์ธานี เขต 1 25 เม.ย. 2567สพป.ยะลา เขต 1 ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 รอบที่ 1 (ครั้งที่ 1) - ผลย้ายครู 2567 สพป.ยะลา เขต 1 25 เม.ย. 2567สพป.นครราชสีมา เขต 7 ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 รอบที่ 1 (ครั้งที่ 1) - ผลย้ายครู 2567 สพป.นครราชสีมา เขต 7 25 เม.ย. 2567สพป.นนทบุรี เขต 1 ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 รอบที่ 1 (ครั้งที่ 1) - ผลย้ายครู 2567 สพป.นนทบุรี เขต 1

รายงานการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพทางการเรียนรู้ ของนักเรียนโรงเรี

usericon

ชื่อผู้รายงาน ​จำลอง จันทรโชติ
​ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
​สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 3
ปีที่รายงาน ​ปีการศึกษา 2564
บทคัดย่อ
การรายงานครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อประเมินผลการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพทางการเรียนรู้ของนักเรียนโรงเรียนบ้านอัยเยอร์เวง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 3 ในด้านวิชาการ ด้านบริหารทั่วไป และด้านบุคลากร โดยการประเมินความสอดคล้องระหว่างความคาดหวังกับสิ่งที่เกิดขึ้นจริงในด้านสิ่งนำ ด้านการปฏิบัติ ด้านผลที่ตามมา และการประเมินความสัมพันธ์ระหว่างด้านสิ่งนำด้านการปฏิบัติ และด้านผลที่ตามมา โดยใช้เกณฑ์การประเมินตามเกณฑ์สัมบูรณ์จากกลุ่มผู้ให้สัมภาษณ์ จำนวน 15 คน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ ครูผู้สอน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้ปกครอง และนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5-6 และนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 รวม 567 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามที่ผู้รายงานสร้างขึ้น จำนวน 2 ฉบับ แล้วสัมภาษณ์นักเรียน ครูผู้สอน ผู้ปกครอง และคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน รวม 15 คน เพื่อให้คำตอบของการประเมินชัดเจนขึ้น วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ร้อยละ ค่าเฉลี่ยมาตรฐาน และวิเคราะห์เนื้อหาจากการสัมภาษณ์
ผลการวิจัย พบว่า
1. ความสัมพันธ์ระหว่างด้านสิ่งนำ ด้านการปฏิบัติและด้านผลที่ตามมา ทั้งด้านความสัมพันธ์เชิงตรรกะของความคาดหวัง และความสัมพันธ์เชิงประจักษ์ของสิ่งที่เกิดขึ้นจริง อยู่ในระดับมาก
2. ความสอดคล้องระหว่างความคาดหวังกับสิ่งที่เกิดขึ้นจริง ในด้านสิ่งนำ ด้านการปฏิบัติและด้านผลที่ตามมา มีความสอดคล้องระหว่างความคาดหวังกับสิ่งที่เกิดขึ้นจริง
3. การตัดสินใจในด้านสิ่งนำ ด้านการปฏิบัติ และด้านผลที่ตามมา ผ่านเกณฑ์การประเมิน
ตามเกณฑ์สัมบูรณ์ ส่วนการตัดสินคุณค่าจากความสัมพันธ์เชิงประจักษ์ของสิ่งที่เกิดขึ้นจริงระหว่าง ด้านสิ่งนำ ด้านการปฏิบัติ และด้านผลที่ตามมาผ่านเกณฑ์การประเมินตามเกณฑ์สัมบูรณ์ทั้ง 3 ด้านและสอดคล้องกับข้อมูลจากการสัมภาษณ์
ร่วมแสดงความคิดเห็น
เงื่อนไข การร่วมแสดงความคิดเห็น!

ข้อความที่ท่านได้อ่าน เกิดจากการเขียนโดยสาธารณชน และส่งขึ้นมาแบบอัตโนมัติ เจ้าของเว็บไซต์ไม่รับผิดชอบต่อข้อความใดๆ ทั้งสิ้น เพราะไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นความจริงหรือ ชื่อผู้เขียนที่ได้เห็นคือชื่อจริง ผู้อ่านจึงควรใช้วิจารณญาณในการกลั่นกรอง และถ้าท่านพบเห็นข้อความใดที่ขัดต่อกฎหมายและศีลธรรม หรือเป็นการกลั่นแกล้งเพื่อให้เกิดความเสียหาย ต่อบุคคล หรือหน่วยงานใด กรุณาแจ้งมาที่ แนะนำติชม เพื่อให้ผู้ควบคุมระบบทราบและทำการลบข้อความนั้น ออกจากระบบต่อไป

ขอขอบพระคุณล่วงหน้า มา ณ โอกาสนี้

^