LASTEST NEWS

26 เม.ย. 2567สพป.ปทุมธานี เขต 1 ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 รอบที่ 1 (ครั้งที่ 1) - ผลย้ายครู 2567 สพป.ปทุมธานี เขต 1 26 เม.ย. 2567(( รวมลิงก์ )) ประกาศผลการย้ายครู ครั้งที่ 1 ประจำปี พ.ศ.2567 ทุกจังหวัด ทุกเขตพื้นที่ฯ ทั่วประเทศ 26 เม.ย. 2567สพม.นครปฐม ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 รอบที่ 1 (ครั้งที่ 1) - ผลย้ายครู 2567 สพม.นครปฐม 26 เม.ย. 2567(( รวมลิงก์ )) ประกาศผลการย้ายครู ครั้งที่ 1 ประจำปี พ.ศ.2567 ทุกจังหวัด ทุกเขตพื้นที่ฯ ทั่วประเทศ 26 เม.ย. 2567สพป.นราธิวาส เขต 2 ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 รอบที่ 1 (ครั้งที่ 2) - ผลย้ายครู 2567 สพป.นราธิวาส เขต 2 26 เม.ย. 2567สพป.อุดรธานี เขต 3 ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 รอบที่ 1 (ครั้งที่ 2) - ผลย้ายครู 2567 สพป.อุดรธานี เขต 3 26 เม.ย. 2567สพป.ยโสธร เขต 2 ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 รอบที่ 1 (ครั้งที่ 2) - ผลย้ายครู 2567 สพป.ยโสธร เขต 2 26 เม.ย. 2567สพม.อุทัยธานี ชัยนาท ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 รอบที่ 1 (ครั้งที่ 2) - ผลย้ายครู 2567 สพม.อุทัยธานี ชัยนาท 26 เม.ย. 2567สพป.เชียงใหม่ เขต 6 ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 รอบที่ 1 (ครั้งที่ 1) - ผลย้ายครู 2567 สพป.เชียงใหม่ เขต 6 26 เม.ย. 2567สพม.นนทบุรี ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 รอบที่ 1 (ครั้งที่ 1) - ผลย้ายครู 2567 สพม.นนทบุรี

การพัฒนาทักษะการอ่านสะกดคำของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3

usericon

ชาญอรุณ ผิวงาม
สภาพปัญหา
    การอ่านภาษาไทยเป็นทักษะพื้นฐานที่สำคัญของผู้เรียน ผู้เรียนจะมีสัมฤทธิผลทางการเรียนได้ก็ต่อเมื่อได้พัฒนาทักษะทั้ง 4 ควบคู่ไปด้วยกัน จากการสังเกตเหตุผลที่นักเรียนไม่ประสบความสำเร็จในการเรียนภาษาไทย เนื่องจากผู้เรียนละเลย ไม่ตระหนักถึงความสำคัญในการอ่านครูผู้สอนจึงควรหากลวิธีทำให้เด็กหันกลับมาสนใจทักษะการอ่านเพิ่มมากขึ้นดังนั้น ผู้วิจัยจึงเห็นควรนำเรื่องการอ่านมาทำวิจัย

จุดประสงค์การวิจัย
    ให้ผู้เรียนตระหนักถึงความสำคัญ เล็งเห็นถึงประโยชน์และมีเจตคติที่ดีต่อการอ่าน สามารถนำไปใช้ได้จริงในชีวิตประจำวันและสอดแทรกนิสัยรักการอ่านในกิจกรรมที่จัดขึ้น

ตัวแปรที่ศึกษา
1.    ตัวแปรต้น    คือ    ชุดฝึกทักษะการอ่าน
2.    ตัวแปรตาม    คือ    จำนวนคำที่อ่านได้

ข้อคิดที่ได้จากการวิจัย
    จากการทำวิจัย เรื่องการอ่านในครั้งนี้ สามารถฝึกให้นักเรียนจำนวนหนึ่งที่มีปัญหาด้านการอ่านสะกดคำภาษาไทยได้พัฒนาการอ่านและรู้จักตัวสระ พยัญชนะได้ดียิ่งขึ้น ซึ่งส่งผลให้นักเรียนกลุ่มที่ได้วิจัยมีพัฒนาการในการเรียนวิชาภาษาไทยและวิชาอื่นๆ ได้ดีขึ้น

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
    นักเรียนสามารถพัฒนาด้านการอ่านสะกดคำ รู้จักสระและตัวพยัญชนะได้ดีขึ้น และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

ขอบเขตของการวิจัย
    ใช้นักเรียนระดับประถมศึกษาปีที่ 3/1 จำนวน 2 คน นักเรียนระดับประถมศึกษาปีที่ 3/1 จำนวน 2 คน ใช้ชุดฝึกทักษะการอ่านสะกดคำ

ขั้นตอนการดำเนินงาน
1.    จัดเตรียมเอกสารแบบฝึกทักษะการอ่าน
2.    จัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านโดยขอความร่วมมือจากห้องสมุดโรงเรียน
3.    ทดสอบทักษะการอ่าน
4.    ตรวจสอบความก้าวหน้าและพัฒนาการทักษะการอ่านจากแบบฝึกทักษะการอ่าน
5.    รวบรวมและสรุปผลการวิจัยเพื่อนำเสนอ

ทางเลือกที่คาดว่าจะแก้ปัญหา
1.    แบบฝึกทักษะการอ่าน
2.    กิจกรรมส่งเสริมการอ่านของห้องสมุด

สรุปผลการวิจัย
    จากการสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนปรากฏว่า นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อการอ่านและมีความพยายามที่จะฝึกอ่านด้วยตนเองมากขึ้น และในขณะที่เรียนนักเรียนสามารถอ่านได้บ้างตามศักยภาพของตนเอง

chantor2547 17 มี.ค. 2564 เวลา 22:41 น. 0 361
ร่วมแสดงความคิดเห็น
เงื่อนไข การร่วมแสดงความคิดเห็น!

ข้อความที่ท่านได้อ่าน เกิดจากการเขียนโดยสาธารณชน และส่งขึ้นมาแบบอัตโนมัติ เจ้าของเว็บไซต์ไม่รับผิดชอบต่อข้อความใดๆ ทั้งสิ้น เพราะไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นความจริงหรือ ชื่อผู้เขียนที่ได้เห็นคือชื่อจริง ผู้อ่านจึงควรใช้วิจารณญาณในการกลั่นกรอง และถ้าท่านพบเห็นข้อความใดที่ขัดต่อกฎหมายและศีลธรรม หรือเป็นการกลั่นแกล้งเพื่อให้เกิดความเสียหาย ต่อบุคคล หรือหน่วยงานใด กรุณาแจ้งมาที่ แนะนำติชม เพื่อให้ผู้ควบคุมระบบทราบและทำการลบข้อความนั้น ออกจากระบบต่อไป

ขอขอบพระคุณล่วงหน้า มา ณ โอกาสนี้

^