LASTEST NEWS

26 เม.ย. 2567(( รวมลิงก์ )) ประกาศผลการย้ายครู ครั้งที่ 1 ประจำปี พ.ศ.2567 ทุกจังหวัด ทุกเขตพื้นที่ฯ ทั่วประเทศ 26 เม.ย. 2567สพป.แพร่ เขต 1 ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 รอบที่ 1 (ครั้งที่ 2) - ผลย้ายครู 2567 สพป.แพร่ เขต 1 26 เม.ย. 2567ก.ค.ศ. อนุมัติให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษามีและเลื่อนเป็นวิทยฐานะเชี่ยวชาญ  26 เม.ย. 2567สพป.ชัยนาท ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 รอบที่ 1 (ครั้งที่ 2) - ผลย้ายครู 2567 สพป.ชัยนาท 26 เม.ย. 2567(( รวมลิงก์ )) ประกาศผลการย้ายครู ครั้งที่ 1 ประจำปี พ.ศ.2567 ทุกจังหวัด ทุกเขตพื้นที่ฯ ทั่วประเทศ 26 เม.ย. 2567สพม.นครศรีธรรมราช ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 รอบที่ 1 (ครั้งที่ 1) - ผลย้ายครู 2567 สพม.นครศรีธรรมราช 26 เม.ย. 2567สพม.ลพบุรี ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 รอบที่ 1 (ครั้งที่ 1) - ผลย้ายครู 2567 สพม.ลพบุรี 26 เม.ย. 2567สพม.สุรินทร์ ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 รอบที่ 1 (ครั้งที่ 2) - ผลย้ายครู 2567 สพม.สุรินทร์ 26 เม.ย. 2567สพป.ตาก เขต 1 ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 รอบที่ 1 (ครั้งที่ 1) - ผลย้ายครู 2567 สพป.ตาก เขต 1 26 เม.ย. 2567สพป.ลำพูน เขต 2 ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 รอบที่ 1 (ครั้งที่ 1) - ผลย้ายครู 2567 สพป.ลำพูน เขต 2

ผลของการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์โดยใช้การบันทึกที่มีต่อทักษะทาง

usericon

ผลของการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์โดยใช้การบันทึกที่มีต่อทักษะทาง
ชื่อเรื่อง         ผลของการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์โดยใช้การบันทึกที่มีต่อทักษะทางภาษา
        ของเด็กปฐมวัย
ผู้วิจัย        นางสาวภัทรดรา พันธุ์สีดา
ตำแหน่ง        ครู วิทยฐานะ ชำนาญการ
โรงเรียน        อนุบาลวัดนางนอง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากรุงเทพมหานคร

    การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อเพื่อเปรียบเทียบทักษะทางภาษาของเด็กปฐมวัยก่อนและหลังได้รับการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์โดยใช้การบันทึก ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ เด็กปฐมวัยที่มีอายุระหว่าง 5-6 ปี ที่กำลังศึกษาอยู่ในระดับชั้นอนุบาลปีที่ 2/1 โรงเรียนอนุบาลวัดนางนอง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากรุงเทพมหานคร ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 จำนวน 31 คน แบบแผนการทดลองเป็นแบบ One-Group Pretest-Posttest Design เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือแผนการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์โดยใช้การบันทึก และแบบทดสอบวัดทักษะทางภาษาของเด็กปฐมวัย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย (Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)
    ผลการวิจัยพบว่า เด็กปฐมวัยได้ค่าคะแนนเฉลี่ยทักษะทางภาษาโดยภาพรวม ก่อนได้รับ
การจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์โดยใช้การบันทึก เท่ากับ 22.20 และเด็กปฐมวัยได้ค่าคะแนนเฉลี่ยทักษะทางภาษาโดยภาพรวม หลังได้รับการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์โดยใช้การบันทึก เท่ากับ 44.74 และร้อยละของค่าคะแนนเฉลี่ยที่เพิ่มขึ้นเท่ากับ 46.96 เด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรม
เสริมประสบการณ์โดยใช้การบันทึกมีค่าคะแนนเฉลี่ยทักษะทางภาษาสูงขึ้นทุกด้าน โดยร้อยละของ
ค่าคะแนนเฉลี่ยที่เพิ่มขึ้นสูงที่สุดตามลำดับ คือ ด้านการเขียนร้อยละ 54.17 ด้านการอ่านร้อยละ 53.42 ด้านการฟังร้อยละ 41.00 และด้านการพูดร้อยละ 39.25
patdara 09 ส.ค. 2557 เวลา 20:54 น. 0 951
ร่วมแสดงความคิดเห็น
เงื่อนไข การร่วมแสดงความคิดเห็น!

ข้อความที่ท่านได้อ่าน เกิดจากการเขียนโดยสาธารณชน และส่งขึ้นมาแบบอัตโนมัติ เจ้าของเว็บไซต์ไม่รับผิดชอบต่อข้อความใดๆ ทั้งสิ้น เพราะไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นความจริงหรือ ชื่อผู้เขียนที่ได้เห็นคือชื่อจริง ผู้อ่านจึงควรใช้วิจารณญาณในการกลั่นกรอง และถ้าท่านพบเห็นข้อความใดที่ขัดต่อกฎหมายและศีลธรรม หรือเป็นการกลั่นแกล้งเพื่อให้เกิดความเสียหาย ต่อบุคคล หรือหน่วยงานใด กรุณาแจ้งมาที่ แนะนำติชม เพื่อให้ผู้ควบคุมระบบทราบและทำการลบข้อความนั้น ออกจากระบบต่อไป

ขอขอบพระคุณล่วงหน้า มา ณ โอกาสนี้

^