LASTEST NEWS

27 ก.ค. 2567โอกาสมาแล้ว!! น้องนิสิต นักศึกษาครู เชิญทางนี้ กรุงเทพมหานคร เปิดสอบครูผู้ช่วย (โครงการช้อนครู) 322 อัตรา รับสมัคร 30 ก.ค. - 2 ส.ค.2567 27 ก.ค. 2567เมืองพัทยา เปิดสอบผู้ช่วยครูผู้ช่วย จำนวน 17 อัตรา รับสมัคร 1-9 สิงหาคม 2567  26 ก.ค. 2567สพป.นนทบุรี เขต 2 เรียกบรรจุครูผู้ช่วย รอบ 2 ปี 2567 จำนวน 15 อัตรา - รายงานตัว 6 สิงหาคม 2567 26 ก.ค. 2567สพป.ศรีสะเกษ เขต 4 เรียกบรรจุครูผู้ช่วย รอบที่ 2 จำนวน 11 อัตรา - รายงานตัว 1 สิงหาคม 2567 26 ก.ค. 2567สพป.ปทุมธานี เขต 1 เรียกบรรจุครูผู้ช่วย รอบที่ 2 จำนวน 5 อัตรา - รายงานตัว 6 สิงหาคม 2567 25 ก.ค. 2567“ศธ.-มท.” เตรียมสุ่มตรวจยาเสพติดโรงเรียน 25 ก.ค. 2567สพป.ฉะเชิงเทรา เขต 1 เรียกบรรจุครูผู้ช่วย บัญชีปี พ.ศ.2566 รอบที่ 7 จำนวน 1 อัตรา - รายงานตัว 1 สิงหาคม 2567 25 ก.ค. 2567สพป.ฉะเชิงเทรา เขต 1 เรียกบรรจุครูผู้ช่วย บัญชีปี พ.ศ.2567 รอบที่ 2 จำนวน 9 อัตรา - รายงานตัว 1 สิงหาคม 2567 25 ก.ค. 2567สพป.นครราชสีมา เขต 6 เรียกบรรจุครูผู้ช่วย สังกัด สพฐ. ปี 2567 รอบที่ 2 จำนวน 8 อัตรา - รายงานตัว 7 สิงหาคม 2567 24 ก.ค. 2567ยินดีด้วยครับ ! สพป.นครราชสีมา เขต 4 เรียกบรรจุครูผู้ช่วย รอบ 2 จำนวน 80 อัตรา - รายงานตัว 30 กรกฎาคม 2567

แนวข้อสอบเจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน กรมชลประทาน

usericon

แนวข้อสอบเจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน กรมชลประทาน

-ความรู้เกี่ยวกับ กรมชลประทาน
-แนวข้อสอบเกี่ยวกับกรมชลประทาน
-โครงสร้าง อำนาจหน้าที่และภารกิจของกรมชลประทาน
-แนวข้อสอบระเบียบกรมชลประทานว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2547
-กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการกรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
- พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551
- พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
- ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงิน และการนำเงินส่งคลัง พ.ศ.2551
- ระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ.2548 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
- ความรู้เกี่ยวกับหลักการบัญชี
-การศึกษา วิเคราะห์ ติดตาม ประเมินผล การใช้จ่ายเงิน
-การวิเคราะห์ฐานะ ทางการเงินและบัญชี การวิเคราะห์งบประมาณ
-การพัฒนาระบบงานคลัง
-ตรวจสอบความถูกต้องของการลงบัญขีประเภทต่างๆ
-ความรู้เกี่ยวการใช้คอมพิวเตอร์ โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป Microsoft Office
แนวข้อสอบพร้อมเฉลยไว้ให้ท่านเรียบร้อยแล้วอ่านสรุปเข้าใจง่ายพร้อมสอบการสั่งซื้อก็ง่ายแสนง่ายเพียงแค่แอด
ไลน์ @vwx4338n
อีเมล์ honda6062111@yahoo.com
โทร. 0807434002ชำระเงินตามราคา ไฟล์ 390.- แบบเล่ม 680 บาท

ตัวอย่าง
1.การทำบัญชี (Book Keeping) เป็นหน้าที่ของผู้ทำบัญชี (Book Keeper) ซึ่งมีขั้นตอนของการปฏิบัติดังนี้
1.1 การรวบรวม(Collecting) หมายถึง การรวบรวมข้อมูลหรือรายการค้าทีเกิดขึ้นประจำวัน และหลักฐานที่เกี่ยวกับการดำเนิน ธุรกิจ เช่น หลักฐานการซื้อเชื่อและขายเชื่อ หลักฐานการรับเงินและจ่ายเงิน เป็นต้น
1.2 การจดบันทึก(Recording) หมายถึง การนำรายการค้าต่างๆ ที่เกิดขึ้นมาบันทึกลงในสมุดรายวันขั้นต้นให้ถูกต้อง ตามหลัก การบัญชีที่รับรองทั่วไป โดยเรียงรายการตามลำดับก่อนหลัง และมีเอกสารประกอบ เช่น ใบกำกับสินค้า ใบเสร็จรับเงิน เป็นต้น
1.3 การจำแนก (Classifying) หมายถึง การนำรายการค้าที่บันทึกลงในสมุดรายวันขั้นต้นมาจำแนกให้เป็นหมวดหมู่ของประเภท บัญชีต่างๆ เช่น หมวดสินทรัพย์ หนี้สิน ส่วนของเจ้าของ รายได้ และค่าใช้จ่าย
1.4 การสรุปผลข้อมูล (Summarizing) หมายถึง การนำประเภทหมวดหมู่ทางการบัญชีที่เกิดขึ้นจากการบันทึกรายการค้านั้นๆ เพื่อให้ทราบผล ของการดำเนินงานของกิจการ จะสรุปผลออกมาทางรูปแบบงบการเงิน คือ “งบกำไรขาดทุน” และถ้าต้องการทราบ ฐานะการเงิน ของกิจการ ก็จะสรุปผลออกมา ทางรูปแบบงบการเงินเช่นเดียวกันคือ “งบดุล”
2.การให้ข้อมูลทางการเงิน เพื่อประโยชน์แก่บุคคลที่เกี่ยวข้องหลายฝ่าย เช่น ผู้บริหาร ผู้ให้xxx้ เจ้าหนี้ นักลงทุน เป็นต้น นอกจากนี้ ข้อมูลทางการเงินยัง สามารถ นำไปใช้ในการวิเคราะห์ทางด้านการเงิน การจัดทำงบประมาณ การปรับปรุงบัญชี เป็นต้น
วัตถุประสงค์ของการจัดทำบัญชี
1. เพื่อช่วยให้เจ้าของกิจการสามารถควบคุมรักษาสินทรัพย์ของกิจการได้
2. เพื่อช่วยให้ทราบผลการดำเนินงานของกิจการ ในรอบระยะเวลาใดเวลาหนึ่งว่า ผลการดำเนินงานที่ผ่านมากิจการมีกำไรหรือขาดทุนเป็นจำนวน เท่าใด
3. เพื่อให้ทราบฐานะการเงินของกิจการ
4. เพื่อเป็นเครื่องมือในการควบคุมและตรวจสอบ
5. เพื่อบันทึกรายการค้าที่เกิดขึ้นตามลำดับก่อนหลัง และจำแนกประเภทของรายการค้าไว้
6. เพื่อถูกต้องตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการทำบัญชีของกิจการต่าง ๆ
ประโยชน์ของการบัญชี
1. เพื่อเป็นเครื่องมือวัดความสำเร็จในการดำเนินธุรกิจ
2. เพื่อช่วยในการวางแผนและตัดสินใจของธุรกิจ
3. เพื่อช่วยในการวางแผนกำไร และควบคุมค่าใช้จ่ายของกิจการ
4. เพื่อเป็นเครื่องมือช่วยในการหาแหล่งเงินทุน
5. เพื่อให้มีระบบการควบคุมภายในที่ดี และเป็นสัญญาณเตือนภัยของกิจการ
6. เพื่อประโยชน์ในการวางแผน เพื่อเสียภาษีได้อย่างถูกต้องและประหยัด
ข้อสมมติตามแม่บทการบัญชี (Assumption)
แม่บทการบัญชี ไม่ถือเป็นมาตรฐานการบัญชี แต่เป็นกรอบหรือแนวคิดขั้นพื้นฐานในการจัดทำและนำเสนองบการเงินตลอดจนกำหนด และนำ มาตรฐานการบัญชีมาปฏิบัติ และเป็นแนวทางในการปฏิบัติสำหรับเรื่องที่ยังไม่มีมาตรฐานการบัญชีรองรับเพื่อให้ผู้ใช้งบการเงินทุกฝ่ายมีความเข้าใจ และปฏิบัติในแนวทาง เดียวกันแม่บทการบัญชีสำหรับการจัดทำและนำเสนองบการเงินมีหลายข้อในที่นี้ขอกล่าวเฉพาะพื้นฐานเบื้องต้นเพื่อให้สอดคล้อง กับวิชา
ข้อสมมติตามแม่บทการบัญชี
1. เกณฑ์คงค้าง (Accrual basis) เป็นเกณฑ์วัดผลการดำเนินงาน โดยการบันทึกบัญชีรายได้และค่าใช้จ่ายด้วยการยึดหลักว่ารายได้ และค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้น ในงวดบัญชีใดให้ถือเป็นรายได้และค่าใช้จ่ายของงวดบัญชีนั้นๆ ไม่ว่าจะรับหรือจ่ายเป็นเงินสดหรือไม่ก็ตาม งบการเงินที่จัดทำขึ้นตามเกณฑ์คงค้างจะแสดงฐานะการเงินและผลการดำเนินงานได้ถูกต้องครบถ้วนตรงตามงวดบัญชีที่เกิดขึ้นและแสดงข้อมูล เกี่ยวกับ ภาระผูกพันที่กิจการต้องรับหรือจ่ายเงินสดที่จะเกิดขึ้นในอนาคต เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับลูกหนี้ เจ้าหนี้ รายได้ค้างรับ ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย เป็นต้น
2. การดำเนินงานต่อเนื่อง (Going Concern) เป็นข้อสมมติที่กล่าวถึงกิจการที่จัดตั้งตามวัตถุประสงค์ที่จะดำเนินงานอย่างต่อเนื่องและดำรงอยู่ต่อไป ในอนาคต หากกิจการมีเจตนาหรือความจำเป็นที่จะเลิกกิจการของการดำเนินงานอย่างมีนัยสำคัญ งบการเงินต้องจัดทำขึ้นโดยใช้เกณฑ์อื่นและต้อง เปิดเผยหลักเกณฑ์ที่ใช้ในงบ การเงินนั้น

เลขบัญชี
เลขที่บัญชี. 517-2-23096-2
ชื่อบัญชี. นายพีระพงษ์ ละอำคา
สาขา. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
บัญชีออมทรัพย์ ธ.กรุงไทย(KTB)
เลขที่บัญชี. 954-0-23094-2
ชื่อบัญชี. นายพีระพงษ์ ละอำคา
สาขา. บิ๊กซีมหาสารคาม
บัญชีออมทรัพย์ ธ.กสิกรไทย(Kbank)
เลขที่บัญชี. 008-1-24508-8
ชื่อบัญชี. นายพีระพงษ์ ละอำคา
สาขา. บิ๊กซีมหาสารคาม
แจ้งการสั่งซื้อแนวข้อสอบของหน่วยงานไหนตำแหน่งอะไร(แสดงสลิปการโอนส่งทางไลน์)
เราจะจัดส่งแนวข้อสอบ
เป็นไฟล์ Pdf ให้ท่านตามอีเมลล์ที่ท่านแจ้งทันทีหลังโอนแบบเล่มส่ง EMS ตามที่อยู่พร้อมแจ้งเลขพัสดุให้ทราบในวันถัดไป

ttp://bm2-team.blogspot.com/2016/05/blog-post_69.html
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน กรมชลประทาน
ร่วมแสดงความคิดเห็น
เงื่อนไข การร่วมแสดงความคิดเห็น!

ข้อความที่ท่านได้อ่าน เกิดจากการเขียนโดยสาธารณชน และส่งขึ้นมาแบบอัตโนมัติ เจ้าของเว็บไซต์ไม่รับผิดชอบต่อข้อความใดๆ ทั้งสิ้น เพราะไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นความจริงหรือ ชื่อผู้เขียนที่ได้เห็นคือชื่อจริง ผู้อ่านจึงควรใช้วิจารณญาณในการกลั่นกรอง และถ้าท่านพบเห็นข้อความใดที่ขัดต่อกฎหมายและศีลธรรม หรือเป็นการกลั่นแกล้งเพื่อให้เกิดความเสียหาย ต่อบุคคล หรือหน่วยงานใด กรุณาแจ้งมาที่ แนะนำติชม เพื่อให้ผู้ควบคุมระบบทราบและทำการลบข้อความนั้น ออกจากระบบต่อไป

ขอขอบพระคุณล่วงหน้า มา ณ โอกาสนี้

^