LASTEST NEWS

03 พ.ค. 2567โรงเรียนหนองไผ่ รับสมัครครูอัตราจ้าง วิชาเอกคอมพิวเตอร์ เงินเดือน 10,000.-บาท ตั้งแต่บัดนี้ - 10 พฤษภาคม พ.ศ.2567 03 พ.ค. 2567โรงเรียนอนุบาลสกลนคร รับสมัครครูอัตราจ้าง วิชาเอกคณิตศาสตร์ เงินเดือน 9,000.- บาท ตั้งแต่บัดนี้ - 8 พฤษภาคม พ.ศ.2567 03 พ.ค. 2567สพป.ชลบุรี เขต 1 ประกาศรับสมัครสอบครูผู้ช่วย รอบทั่วไป ปี พ.ศ.2567 จำนวน 14 อัตรา ตั้งแต่ 8-14 พ.ค.2567 03 พ.ค. 2567สพป.ชัยนาท ประกาศรับสมัครสอบครูผู้ช่วย รอบทั่วไป ปี พ.ศ.2567 จำนวน 4 อัตรา ตั้งแต่ 8-14 พ.ค.2567 03 พ.ค. 2567(( รวมลิงก์ )) ประกาศรับสมัครสอบแข่งขันฯ ครูผู้ช่วย รอบทั่วไป ปี พ.ศ.2567 ทุกจังหวัด ทุกเขตพื้นที่ฯ ทั่วประเทศ 03 พ.ค. 2567สพม.ชลบุรี ระยอง ประกาศรับสมัครสอบครูผู้ช่วย รอบทั่วไป ปี พ.ศ.2567 จำนวน 15 อัตรา ตั้งแต่ 8-14 พ.ค.2567 03 พ.ค. 2567สพป.ชลบุรี เขต 3 ประกาศรับสมัครสอบครูผู้ช่วย รอบทั่วไป ปี พ.ศ.2567 จำนวน 76 อัตรา ตั้งแต่ 8-14 พ.ค.2567 03 พ.ค. 2567สพป.ชลบุรี เขต 2 ประกาศรับสมัครสอบครูผู้ช่วย รอบทั่วไป ปี พ.ศ.2567 จำนวน 9 อัตรา ตั้งแต่ 8-14 พ.ค.2567 03 พ.ค. 2567สพป.ฉะเชิงเทรา เขต 2 ประกาศรับสมัครสอบครูผู้ช่วย รอบทั่วไป ปี พ.ศ.2567 จำนวน 19 อัตรา ตั้งแต่ 8-14 พ.ค.2567 03 พ.ค. 2567สพฐ.ออกหนังสือ ด่วนที่สุด ! แจ้งแนวทางป้องกันเหตุความไม่ปลอดภัยที่เกิดจากสภาพอากาศร้อนจัด โรงเรียนพิจารณาปิดเรียน และจัดการเรียนในรูปแบบออนไลน์ ออนแฮนด์ ออนแอร์ หรือ ออนดีมานด์ ได้

รายงานผลการใช้แบบฝึกทักษะด้วยรูปแบบ Active Leaning

usericon

บทคัดย่อ
รายงานผลการใช้แบบฝึกทักษะการพัฒนาความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ โดยการ
จัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบ Active Leaning ร่วมกับการวาดรูปบาร์โมเดล ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2566 ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อสร้างและหาประสิทธิภาพของแบบฝึกเสริมทักษะการพัฒนาความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ โดยการจัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบ Active Leaning ร่วมกับการวาดรูปบาร์โมเดล ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2566 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ โดยการจัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบ Active Leaning ร่วมกับการวาดรูปบาร์โมเดล ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2566ก่อนเรียนและหลังเรียน โดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ โดยการจัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบ Active Leaning ร่วมกับการวาดรูปบาร์โมเดล 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่เรียนโดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะการพัฒนาความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ โดยการจัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบ Active Leaning ร่วมกับการวาดรูปบาร์โมเดล ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2566 ประชากรคือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนในเขตคุณภาพศรีมหาโพธิ 2 อำเภอศรีมหาโพธิ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปราจีนบุรี เขต 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านวังขอน อำเภอศรีมหาโพธิ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปราจีนบุรี เขต 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 25566 จำนวน 14 คนได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาคือ แบบฝึกทักษะการพัฒนาความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ โดยการจัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบ Active Leaning ร่วมกับการวาดรูปบาร์โมเดล กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 5 ชุด คู่มือการใช้แบบฝึกทักษะการพัฒนาความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ โดยการจัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบ Active Leaning ร่วมกับการวาดรูปบาร์โมเดล แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เป็นแบบปรนัยชนิดเลือกตอบ 3 ตัวเลือกจำนวน 20 ข้อ และแบบประเมินความพึงพอใจ วิเคราะห์โดยหาค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและสถิติทดสอบที(t – test)
    ผลการศึกษาพบว่า
1. แบบฝึกทักษะการพัฒนาความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ โดยการจัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบ Active Leaning ร่วมกับการวาดรูปบาร์โมเดล ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 87.71/87.43
2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 หลังจากได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะการพัฒนาความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ โดยการจัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบ Active Leaning ร่วมกับการวาดรูปบาร์โมเดล ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
3. นักเรียนที่เรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะการพัฒนาความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์
โดยการจัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบ Active Leaning ร่วมกับการวาดรูปบาร์โมเดล กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด
(Χ= 4.83) (S.D. = 1.50)
c.kinnaree0 21 ก.ย. 2566 เวลา 23:26 น. 0 177
ร่วมแสดงความคิดเห็น
เงื่อนไข การร่วมแสดงความคิดเห็น!

ข้อความที่ท่านได้อ่าน เกิดจากการเขียนโดยสาธารณชน และส่งขึ้นมาแบบอัตโนมัติ เจ้าของเว็บไซต์ไม่รับผิดชอบต่อข้อความใดๆ ทั้งสิ้น เพราะไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นความจริงหรือ ชื่อผู้เขียนที่ได้เห็นคือชื่อจริง ผู้อ่านจึงควรใช้วิจารณญาณในการกลั่นกรอง และถ้าท่านพบเห็นข้อความใดที่ขัดต่อกฎหมายและศีลธรรม หรือเป็นการกลั่นแกล้งเพื่อให้เกิดความเสียหาย ต่อบุคคล หรือหน่วยงานใด กรุณาแจ้งมาที่ แนะนำติชม เพื่อให้ผู้ควบคุมระบบทราบและทำการลบข้อความนั้น ออกจากระบบต่อไป

ขอขอบพระคุณล่วงหน้า มา ณ โอกาสนี้

^