LASTEST NEWS

26 เม.ย. 2567(( รวมลิงก์ )) ประกาศผลการย้ายครู ครั้งที่ 1 ประจำปี พ.ศ.2567 ทุกจังหวัด ทุกเขตพื้นที่ฯ ทั่วประเทศ 26 เม.ย. 2567สพป.แพร่ เขต 1 ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 รอบที่ 1 (ครั้งที่ 2) - ผลย้ายครู 2567 สพป.แพร่ เขต 1 26 เม.ย. 2567ก.ค.ศ. อนุมัติให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษามีและเลื่อนเป็นวิทยฐานะเชี่ยวชาญ  26 เม.ย. 2567สพป.ชัยนาท ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 รอบที่ 1 (ครั้งที่ 2) - ผลย้ายครู 2567 สพป.ชัยนาท 26 เม.ย. 2567(( รวมลิงก์ )) ประกาศผลการย้ายครู ครั้งที่ 1 ประจำปี พ.ศ.2567 ทุกจังหวัด ทุกเขตพื้นที่ฯ ทั่วประเทศ 26 เม.ย. 2567สพม.นครศรีธรรมราช ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 รอบที่ 1 (ครั้งที่ 1) - ผลย้ายครู 2567 สพม.นครศรีธรรมราช 26 เม.ย. 2567สพม.ลพบุรี ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 รอบที่ 1 (ครั้งที่ 1) - ผลย้ายครู 2567 สพม.ลพบุรี 26 เม.ย. 2567สพม.สุรินทร์ ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 รอบที่ 1 (ครั้งที่ 2) - ผลย้ายครู 2567 สพม.สุรินทร์ 26 เม.ย. 2567สพป.ตาก เขต 1 ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 รอบที่ 1 (ครั้งที่ 1) - ผลย้ายครู 2567 สพป.ตาก เขต 1 26 เม.ย. 2567สพป.ลำพูน เขต 2 ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 รอบที่ 1 (ครั้งที่ 1) - ผลย้ายครู 2567 สพป.ลำพูน เขต 2

การพัฒนารูปแบบการเสริมสร้างพลังอำนาจของบุคลากรครูด้านการจัดการเร

usericon

ชื่อผลงาน การพัฒนารูปแบบการเสริมสร้างพลังอ านาจด้านการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียน
เป็นศูนย์กลางแก่ครูในโรงเรียนอนุบาลเทศบาลต าบลแม่ขรี
ผู้ประเมิน นางกัลยา อุทัยรังษี
ปีการศึกษา 2562

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1)เพื่อศึกษาข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนารูปแบบการเสริมสร้างพลัง
อ านาจด้านการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญแก่ครูในโรงเรียนอนุบาลเทศบาลต าบลแม่ขรี 2)เพื่อ
พัฒนารูปแบบการเสริมสร้างพลังอ านาจด้านการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญแก่ครูในโรงเรียนอนุบาล
เทศบาลต าบลแม่ขรี 3)เพื่อทดลองใช้รูปแบบการเสริมสร้างพลังอ านาจด้านการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น
ส าคัญแก่ครูในโรงเรียนอนุบาลเทศบาลต าบลแม่ขรี และ4)เพื่อประเมินผลการใช้รูปแบบการเสริมสร้างพลัง
อ านาจด้านการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญแก่ครูในโรงเรียนอนุบาลเทศบาลต าบลแม่ขรีในประเด็น
ต่อไปนี้พฤติกรรมการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนและรูปแบบ
การเสริมสร้างพลังอ านาจด้านการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางอยู่กลุ่มเป้าหมายคือครูและบุคลากร
โรงเรียนอนุบาลเทศบาลต าบลแม่ขรี ปีการศึกษา 2562 เครื่องมือที่ใช้เครื่องมือที่ใช้ประกอบด้วยรูปแบบการ
เสริมสร้างพลังอ านาจด้านการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางแก่ครูในโรงเรียนอนุบาลเทศบาลต าบล
แม่ขรี และเอกสารคู่มือการใช้รูปแบบการเสริมสร้างพลังอ านาจด้านการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น
ศูนย์กลางแก่ครูในโรงเรียนอนุบาลเทศบาลต าบลแม่ขรีเครื่องมือวัดพฤติกรรมการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียน
เป็นศูนย์กลาง แบบรายงานผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน และแบบประเมินรูปแบบการเสริมสร้างพลัง
อ านาจด้านการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางท าการเก็บรวบรวมข้อมูลก่อนและหลังการทดลองใช้
รูปแบบการเสริมสร้างพลังอ านาจด้านการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง การวิเคราะห์ข้อมูลระดับ
พฤติกรรมการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางของครูผลการประเมินรูปแบบการเสริมสร้างพลังอ านาจ
ด้านการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง วิเคราะห์ข้อมูลสถิติบรรยาย สถิติที่ใช้ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ
และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และเปรียบเทียบระดับพฤติกรรมการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางของ
ครู โดยการทดสอบค่าที แบบกลุ่มตัวอย่างที่ไม่เป็นอิสระต่อกัน (t-test for dependent samples)
ผลการวิจัยพบว่า
1. ผลการสร้างรูปแบบการเสริมสร้างพลังอ านาจครูด้านการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น
ศูนย์กลาง ได้รูปแบบเสริมสร้างพลังอ านาจด้านการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง มี 7 องค์ประกอบ
ดังนี้(1) การก าหนดหลักการ (2) การก าหนดวัตถุประสงค์ (3) การก าหนดโครงสร้างเนื้อหา (4) การ
ด าเนินการ ได้แก่ (4.1) การก าหนดเป้าหมาย (4.2) การสร้างความตระหนักแห่งตนเอง (4.3) การเสริมสร้าง
ความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ (4.4) การเรียนรู้โดยปฏิบัติจริง (4.5) การสะท้อนความคิด และ (5) การ
ประเมินผล

2. ครูมีระดับพฤติกรรมการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง อยู่ในระดับปานกลาง หลัง
การอบรมอยู่ในระดับมาก และหลังการอบรมสูงกว่าก่อนการอบรมอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .01
3. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน โรงเรียนอนุบาลเทศบาลต าบลแม่ขรีสังกัดเทศบาลต าบล
แม่ขรี ปีการศึกษา 2562 สูงขึ้น
4. ผลการประเมินรูปแบบเสริมสร้างพลังอ านาจเพื่อพัฒนาศักยภาพด้านวัฒนธรรมการวิจัย
มาตรฐานด้านการใช้ประโยชน์มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด รองลงมา คือ มาตรฐานด้านความเหมาะสม มาตรฐานด้าน
ความถูกต้อง และมาตรฐานด้านความเป็นไปได้มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด
ร่วมแสดงความคิดเห็น
เงื่อนไข การร่วมแสดงความคิดเห็น!

ข้อความที่ท่านได้อ่าน เกิดจากการเขียนโดยสาธารณชน และส่งขึ้นมาแบบอัตโนมัติ เจ้าของเว็บไซต์ไม่รับผิดชอบต่อข้อความใดๆ ทั้งสิ้น เพราะไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นความจริงหรือ ชื่อผู้เขียนที่ได้เห็นคือชื่อจริง ผู้อ่านจึงควรใช้วิจารณญาณในการกลั่นกรอง และถ้าท่านพบเห็นข้อความใดที่ขัดต่อกฎหมายและศีลธรรม หรือเป็นการกลั่นแกล้งเพื่อให้เกิดความเสียหาย ต่อบุคคล หรือหน่วยงานใด กรุณาแจ้งมาที่ แนะนำติชม เพื่อให้ผู้ควบคุมระบบทราบและทำการลบข้อความนั้น ออกจากระบบต่อไป

ขอขอบพระคุณล่วงหน้า มา ณ โอกาสนี้

^