LASTEST NEWS

19 เม.ย. 2567(( รวมลิงก์ )) ประกาศผลการย้ายครู ครั้งที่ 1 ประจำปี พ.ศ.2567 ทุกจังหวัด ทุกเขตพื้นที่ฯ ทั่วประเทศ 19 เม.ย. 2567ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 ครั้งที่ 1 (รอบที่ 1) สพม.นครสวรรค์ - ผลย้ายครู 2567 สพม.นครสวรรค์ 19 เม.ย. 2567ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 ครั้งที่ 2 (รอบที่ 1) สพป.นราธิวาส เขต 1 - ผลย้ายครู 2567 สพป.นราธิวาส เขต 1 19 เม.ย. 2567ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 ครั้งที่ 1 (รอบที่ 1) สพป.น่าน เขต 1 - ผลย้ายครู 2567 สพป.น่าน เขต 1 19 เม.ย. 2567ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 ครั้งที่ 1 (รอบที่ 1) สพม.นครพนม - ผลย้ายครู 2567 สพม.นครพนม 19 เม.ย. 2567(( รวมลิงก์ )) ประกาศผลการย้ายครู ครั้งที่ 1 ประจำปี พ.ศ.2567 ทุกจังหวัด ทุกเขตพื้นที่ฯ ทั่วประเทศ 19 เม.ย. 2567ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 ครั้งที่ 1 (รอบที่ 1) สพป.ราชบุรี เขต 2 - ผลย้ายครู 2567 สพป.ราชบุรี เขต 2 19 เม.ย. 2567ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 ครั้งที่ 1 (รอบที่ 2) สพป.ขอนแก่น เขต 3 - ผลย้ายครู 2567 สพป.ขอนแก่น เขต 3 19 เม.ย. 2567ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 ครั้งที่ 1 (รอบที่ 1) สพป.เชียงใหม่ เขต 2 - ผลย้ายครู 2567 สพป.เชียงใหม่ เขต 2 19 เม.ย. 2567ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 ครั้งที่ 1 (รอบที่ 1) สพป.นครสวรรค์ เขต 1 - ผลย้ายครู 2567 สพป.นครสวรรค์ เขต 1

การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมทักษะนาฏศิลป์ไทย

usericon

ชื่อเรื่อง การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมทักษะนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ “ตารีเรอบานา”
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ (นาฏศิลป์เพิ่มเติม) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ผู้วิจัย นางสาธนี ไกรราษฎร์
ปีการศึกษา 2563

บทคัดย่อ

        การพัฒนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของการพัฒนาการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมทักษะนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ “ตารีเรอบานา”กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ (นาฏศิลป์เพิ่มเติม) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 1.1) เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมทักษะนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ “ตารีเรอบานา”กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ (นาฏศิลป์เพิ่มเติม) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 1.2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนก่อนและหลังการใช้รูปแบบการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมทักษะนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ “ตารีเรอบานา”กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ (นาฏศิลป์เพิ่มเติม) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 1.3) เพื่อประเมินความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีต่อรูปแบบการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมทักษะนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ “ตารีเรอบานา”กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ (นาฏศิลป์เพิ่มเติม) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 2) เพื่อขยายผลการใช้รูปแบบการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมทักษะนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ “ตารีเรอบานา”กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ (นาฏศิลป์เพิ่มเติม) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 2.1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนก่อนและหลังการใช้รูปแบบการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมทักษะนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ “ตารีเรอบานา”กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ (นาฏศิลป์เพิ่มเติม) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ในกลุ่มขยายผล 2.2) เพื่อประเมินความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีต่อรูปแบบการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมทักษะนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ “ตารีเรอบานา”กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ (นาฏศิลป์เพิ่มเติม) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ในกลุ่มขยายผล กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเทศบาล ๒ (บ้านบาเละฮิเล) ได้มาโดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) มีจานวนนักเรียนทั้งสิ้น 30 คนกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการขยายผลการวิจัยเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเทศบาล ๒ ที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดลอง จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วยรูปแบบการจัดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อการใช้กิจกรรมการเรียนรู้ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติที่แบบไม่อิสระและการวิเคราะห์เนื้อหา
        ผลการวิจัย พบว่า
        1. รูปแบบการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมทักษะนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ “ตารีเรอบานา”กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ (นาฏศิลป์เพิ่มเติม) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ประกอบด้วยองค์ประกอบ 3 องค์ประกอบ คือ องค์ประกอบเชิงหลักการและวัตถุประสงค์ องค์ประกอบเชิงกระบวนการและองค์ประกอบเชิงเงื่อนไขการนารูปแบบไปใช้ กระบวนการจัดการเรียนรู้โดยใช้การจัดการเรียนรู้ ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นที่ 1 ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน ขั้นที่ 2 ขั้นสอน ขั้นที่ 3 ฝึกฝนนักเรียน ขั้นที่ 4 สรุปความรู้ ขั้นที่ 5 การนำไปใช้ผลการตรวจสอบคุณภาพจากผู้เชี่ยวชาญ 5 คน ได้ค่าความเหมาะสม/สอดคล้องมีค่าเฉลี่ย ( x ) ตั้งแต่ 4.53– 4.87 และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ตั้งแต่ 0.15 – 0.49 ซึ่งแสดงว่าการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมทักษะนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ “ตารีเรอบานา”กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ (นาฏศิลป์เพิ่มเติม) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ (นาฏศิลป์เพิ่มเติม) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่พัฒนาขึ้นมีความเหมาะสม/สอดคล้องเชิงโครงสร้าง สามารถนาไปทดลองใช้ได้และผลการหาประสิทธิภาพ (E1/E2) โดยการทดลองภาคสนาม พบว่า ประสิทธิภาพของรูปแบบการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมทักษะนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ “ตารีเรอบานา”กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ (นาฏศิลป์เพิ่มเติม) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เท่ากับ 84.24 / 85.56 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด 80/80
        2. ประสิทธิผลของรูปแบบการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมทักษะนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ “ตารีเรอบานา”กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ (นาฏศิลป์เพิ่มเติม) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มีดังต่อไปนี้             2.1 หลังการจัดการเรียนรู้ โดยใช้รูปแบบการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมทักษะนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ “ตารีเรอบานา”กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ (นาฏศิลป์เพิ่มเติม) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยภาพอยู่ในระดับสูงมากและสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
        2.2 ความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อรูปแบบการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมทักษะนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ “ตารีเรอบานา”กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ (นาฏศิลป์เพิ่มเติม) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ในภาพรวมผู้เรียนมีความพึงพอใจในระดับมากที่สุด ( x = 4.67,S.D. = 0.15)
        3. ผลการขยายผลหลังการเรียนการสอน โดยใช้รูปแบบการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมทักษะนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ “ตารีเรอบานา”กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ (นาฏศิลป์เพิ่มเติม) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ พบว่า
        3.1 ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยภาพรวมอยู่ในระดับสูงมาก และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3.2 ความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อรูปแบบการจัดการเรียนรู้ในภาพรวม ผู้เรียนมีความพึงพอใจในระดับมากที่สุด ( x = 4.66, S.D. = 0.51)


sathanee 06 ก.ย. 2564 เวลา 22:34 น. 0 299
ร่วมแสดงความคิดเห็น
เงื่อนไข การร่วมแสดงความคิดเห็น!

ข้อความที่ท่านได้อ่าน เกิดจากการเขียนโดยสาธารณชน และส่งขึ้นมาแบบอัตโนมัติ เจ้าของเว็บไซต์ไม่รับผิดชอบต่อข้อความใดๆ ทั้งสิ้น เพราะไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นความจริงหรือ ชื่อผู้เขียนที่ได้เห็นคือชื่อจริง ผู้อ่านจึงควรใช้วิจารณญาณในการกลั่นกรอง และถ้าท่านพบเห็นข้อความใดที่ขัดต่อกฎหมายและศีลธรรม หรือเป็นการกลั่นแกล้งเพื่อให้เกิดความเสียหาย ต่อบุคคล หรือหน่วยงานใด กรุณาแจ้งมาที่ แนะนำติชม เพื่อให้ผู้ควบคุมระบบทราบและทำการลบข้อความนั้น ออกจากระบบต่อไป

ขอขอบพระคุณล่วงหน้า มา ณ โอกาสนี้

^