LASTEST NEWS

25 เม.ย. 2567(( รวมลิงก์ )) ประกาศผลการย้ายครู ครั้งที่ 1 ประจำปี พ.ศ.2567 ทุกจังหวัด ทุกเขตพื้นที่ฯ ทั่วประเทศ 25 เม.ย. 2567สพป.บุรีรัมย์ เขต 1 ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 รอบที่ 1 (ครั้งที่ 1) - ผลย้ายครู 2567 สพป.บุรีรัมย์ เขต 1 25 เม.ย. 2567(( รวมลิงก์ )) ประกาศผลการย้ายครู ครั้งที่ 1 ประจำปี พ.ศ.2567 ทุกจังหวัด ทุกเขตพื้นที่ฯ ทั่วประเทศ 25 เม.ย. 2567สพป.เพชรบูรณ์ เขต 2 ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 รอบที่ 1 (ครั้งที่ 1) - ผลย้ายครู 2567 สพป.เพชรบูรณ์ เขต 2 25 เม.ย. 2567สพป.บุรีรัมย์ เขต 2 ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 รอบที่ 1 (ครั้งที่ 1) - ผลย้ายครู 2567 สพป.บุรีรัมย์ เขต 2 25 เม.ย. 2567สพม.สุราษฎร์ธานี ชุมพร ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 รอบที่ 1 (ครั้งที่ 1) - ผลย้ายครู 2567 สพม.สุราษฎร์ธานี ชุมพร 25 เม.ย. 2567สพป.สุราษฎร์ธานี เขต 1 ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 รอบที่ 1 (ครั้งที่ 1) - ผลย้ายครู 2567 สพป.สุราษฎร์ธานี เขต 1 25 เม.ย. 2567สพป.ยะลา เขต 1 ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 รอบที่ 1 (ครั้งที่ 1) - ผลย้ายครู 2567 สพป.ยะลา เขต 1 25 เม.ย. 2567สพป.นครราชสีมา เขต 7 ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 รอบที่ 1 (ครั้งที่ 1) - ผลย้ายครู 2567 สพป.นครราชสีมา เขต 7 25 เม.ย. 2567สพป.นนทบุรี เขต 1 ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 รอบที่ 1 (ครั้งที่ 1) - ผลย้ายครู 2567 สพป.นนทบุรี เขต 1

การพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติมเสริมทักษะการอ่านภาษาอังกฤษ ร่วมกับก

usericon

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและหาประสิทธิภาพของหนังสืออ่านเพิ่มเติมฯ เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษก่อนและหลังการใช้หนังสืออ่านเพิ่มเติมฯ และเพื่อศึกษาความคิดเห็นที่มีต่อหนังสืออ่านเพิ่มเติมฯที่ผู้ศึกษาสร้างขึ้น
กลุ่มตัวอย่างคือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 จำนวน 40 คน เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองได้แก่ หนังสืออ่านเพิ่มเติมฯ จำนวน 6 เล่ม แบบทดสอบวัดความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษก่อนและหลังเรียน และแบบสอบถามความคิดเห็น
การทดลองและเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยดำเนินการทดลอง 6 สัปดาห์ๆ ละ 3 คาบเรียนๆ ละ 45 นาที คาบปฐมนิเทศ และคาบปัจฉิมนิเทศ 2 คาบเรียน รวมทั้งสิ้น 20 คาบเรียน ผู้ศึกษาให้กลุ่มตัวอย่างทำแบบทดสอบก่อนเรียนเพื่อวัดความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษ เมื่อเรียนจบในแต่ละเล่ม ให้กลุ่มตัวอย่างทำแบบทดสอบท้ายเล่ม และตอบแบบสอบถามความคิดเห็นที่มีต่อหนังสืออ่านเพิ่มเติมฯ หลังจากที่เรียนจากหนังสืออ่านเพิ่มเติมฯ ครบทั้ง 6 เล่ม ผู้ศึกษาให้กลุ่มตัวอย่างทำแบบทดสอบวัดความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษ ซึ่งเป็นแบบทดสอบฉบับเดียวกับแบบทดสอบก่อนเรียน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ t-test แบบจับคู่ เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษก่อนและหลังเรียนจากหนังสืออ่านเพิ่มเติมฯ ใช้ค่าสถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่าเฉลี่ยและ ค่าร้อยละ เพื่อหาประสิทธิภาพของหนังสืออ่านเพิ่มเติมฯ ใช้ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์ระดับความคิดเห็นที่มีต่อหนังสืออ่านเพิ่มเติมฯ
ผลการวิจัยพบว่า
1. ประสิทธิภาพของหนังสืออ่านเพิ่มเติมฯ มีค่าเท่ากับ 84.75/83.25 ซึ่งถือว่าหนังสืออ่านเพิ่มเติมฯ มีประสิทธิภาพอยู่ในระดับดีมาก
2. ความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษของนักเรียนหลังการใช้หนังสืออ่านเพิ่มเติมฯ สูงกว่าก่อนการใช้หนังสืออ่านเพิ่มเติมฯ อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05
3. กลุ่มตัวอย่างมีความคิดเห็นต่อหนังสืออ่านเพิ่มเติมฯ ที่ผู้ศึกษาสร้างขึ้นอยู่ในระดับดีมาก
ssoontharee09 21 มิ.ย. 2561 เวลา 17:26 น. 0 582
ร่วมแสดงความคิดเห็น
เงื่อนไข การร่วมแสดงความคิดเห็น!

ข้อความที่ท่านได้อ่าน เกิดจากการเขียนโดยสาธารณชน และส่งขึ้นมาแบบอัตโนมัติ เจ้าของเว็บไซต์ไม่รับผิดชอบต่อข้อความใดๆ ทั้งสิ้น เพราะไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นความจริงหรือ ชื่อผู้เขียนที่ได้เห็นคือชื่อจริง ผู้อ่านจึงควรใช้วิจารณญาณในการกลั่นกรอง และถ้าท่านพบเห็นข้อความใดที่ขัดต่อกฎหมายและศีลธรรม หรือเป็นการกลั่นแกล้งเพื่อให้เกิดความเสียหาย ต่อบุคคล หรือหน่วยงานใด กรุณาแจ้งมาที่ แนะนำติชม เพื่อให้ผู้ควบคุมระบบทราบและทำการลบข้อความนั้น ออกจากระบบต่อไป

ขอขอบพระคุณล่วงหน้า มา ณ โอกาสนี้

^