LASTEST NEWS

23 เม.ย. 2567สพป.พระนครศรีอยุธยา เขต 1 ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 รอบที่ 1 (ครั้งที่ 1) - ผลย้ายครู 2567 สพป.พระนครศรีอยุธยา เขต 1 23 เม.ย. 2567(( รวมลิงก์ )) ประกาศผลการย้ายครู ครั้งที่ 1 ประจำปี พ.ศ.2567 ทุกจังหวัด ทุกเขตพื้นที่ฯ ทั่วประเทศ 23 เม.ย. 2567(( รวมลิงก์ )) ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิสอบครูผู้ช่วย กรณีพิเศษ สังกัด สพฐ. ปี พ.ศ.2567 ทุกจังหวัด ทุกเขตพื้นที่ฯ ทั่วประเทศ 23 เม.ย. 2567(( รวมลิงก์ )) ประกาศผลการย้ายครู ครั้งที่ 1 ประจำปี พ.ศ.2567 ทุกจังหวัด ทุกเขตพื้นที่ฯ ทั่วประเทศ 23 เม.ย. 2567สพป.สงขลา เขต 3 ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 รอบที่ 1 (ครั้งที่ 2) - ผลย้ายครู 2567 สพป.สงขลา เขต 3 23 เม.ย. 2567สพป.ขอนแก่น เขต 4 ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 รอบที่ 1 (ครั้งที่ 1) - ผลย้ายครู 2567 สพป.ขอนแก่น เขต 4 23 เม.ย. 2567สพม.บุรีรัมย์ ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 รอบที่ 1 (ครั้งที่ 1) - ผลย้ายครู 2567 สพม.บุรีรัมย์ 23 เม.ย. 2567สพป.เชียงใหม่ เขต 3 ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 รอบที่ 1 (ครั้งที่ 1) - ผลย้ายครู 2567 สพป.เชียงใหม่ เขต 3 23 เม.ย. 2567สพป.พะเยา เขต 1 ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 รอบที่ 1 (ครั้งที่ 1) - ผลย้ายครู 2567 สพป.พะเยา เขต 1 23 เม.ย. 2567สพป.สระแก้ว เขต 2 ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 รอบที่ 1 (ครั้งที่ 1) - ผลย้ายครู 2567 สพป.สระแก้ว เขต 2

การแก้ปัญหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การต่อวงจร RLC

usericon

ชื่อเรื่องวิจัย    การแก้ปัญหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การต่อวงจร RLC รายวิชาวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 แผนกช่างไฟฟ้ากำลัง โดยใช้โปรแกรม Every Circuit
ผู้วิจัย นางสาวกัญญภัทร พรหมเจริญ
แผนกวิชา     ช่างไฟฟ้ากำลัง
สถานศึกษา วิทยาลัยการอาชีพนครปฐม
ปีการศึกษาที่     2/2565


บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการแก้ปัญหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การต่อวงจร RLC รายวิชวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 แผนกช่างไฟฟ้ากำลัง โดยใช้โปรแกรมEvery Circuit วิทยาลัยการอาชีพนครปฐม ด้วยวิธีการปรับเปลี่ยนวิธีการเรียนรู้โดยใช้โปรแกรม Every Circuit โดยการสุ่มแบบเจาะจง นักเรียนห้อง 4 จำนวน 21คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบทดสอบ วิเคราะห์ข้อมูลโดย ใช้ค่าเฉลี่ย (bar{x}) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และใช้การวิเคราะห์ t-test แบบ dependent samples
    จากผลการวิจัยพบว่า วิธีการเรียนรู้โดยใช้โปแกรม Every Circuit ที่มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 15.57 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และการต่อวงจรแบบใช้โปรแกรม Every circuit มีค่าเฉลี่ยสูงกว่าการต่อวงจรแบบปกติที่มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 10.24 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 การต่อวงจรไฟฟ้าโดยใช้โปรแกรม Every Circuit ในรายวิชาวงจรไฟฟ้ากระแสสลับดีขึ้น

talathip29 09 มี.ค. 2566 เวลา 15:24 น. 0 296
ร่วมแสดงความคิดเห็น
เงื่อนไข การร่วมแสดงความคิดเห็น!

ข้อความที่ท่านได้อ่าน เกิดจากการเขียนโดยสาธารณชน และส่งขึ้นมาแบบอัตโนมัติ เจ้าของเว็บไซต์ไม่รับผิดชอบต่อข้อความใดๆ ทั้งสิ้น เพราะไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นความจริงหรือ ชื่อผู้เขียนที่ได้เห็นคือชื่อจริง ผู้อ่านจึงควรใช้วิจารณญาณในการกลั่นกรอง และถ้าท่านพบเห็นข้อความใดที่ขัดต่อกฎหมายและศีลธรรม หรือเป็นการกลั่นแกล้งเพื่อให้เกิดความเสียหาย ต่อบุคคล หรือหน่วยงานใด กรุณาแจ้งมาที่ แนะนำติชม เพื่อให้ผู้ควบคุมระบบทราบและทำการลบข้อความนั้น ออกจากระบบต่อไป

ขอขอบพระคุณล่วงหน้า มา ณ โอกาสนี้

^