LASTEST NEWS

19 เม.ย. 2567(( รวมลิงก์ )) ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิสอบครูผู้ช่วย กรณีพิเศษ สังกัด สพฐ. ปี พ.ศ.2567 ทุกจังหวัด ทุกเขตพื้นที่ฯ ทั่วประเทศ 19 เม.ย. 2567(( รวมลิงก์ )) ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิสอบครูผู้ช่วย กรณีพิเศษ สังกัด สพฐ. ปี พ.ศ.2567 ทุกจังหวัด ทุกเขตพื้นที่ฯ ทั่วประเทศ 19 เม.ย. 2567(( รวมลิงก์ )) ประกาศผลการย้ายครู ครั้งที่ 1 ประจำปี พ.ศ.2567 ทุกจังหวัด ทุกเขตพื้นที่ฯ ทั่วประเทศ 19 เม.ย. 2567(( รวมลิงก์ )) ประกาศผลการย้ายครู ครั้งที่ 1 ประจำปี พ.ศ.2567 ทุกจังหวัด ทุกเขตพื้นที่ฯ ทั่วประเทศ 19 เม.ย. 2567ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 ครั้งที่ 1 (รอบที่ 1) สพป.เพชรบุรี เขต 1 - ผลย้ายครู 2567 สพป.เพชรบุรี เขต 1 19 เม.ย. 2567ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 ครั้งที่ 1 (รอบที่ 1) สพป.สมุทรสงคราม - ผลย้ายครู 2567 สพป.สมุทรสงคราม 19 เม.ย. 2567ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 ครั้งที่ 1 (รอบที่ 1) สพป.นครราชสีมา เขต 2 - ผลย้ายครู 2567 สพป.นครราชสีมา เขต 2 19 เม.ย. 2567ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 ครั้งที่ 1 (รอบที่ 1) สพม.ขอนแก่น - ผลย้ายครู 2567 สพม.ขอนแก่น 19 เม.ย. 2567ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 ครั้งที่ 1 (รอบที่ 1) สพม.พิษณุโลก อุตรดิตถ์ - ผลย้ายครู 2567 สพม.พิษณุโลก อุตรดิตถ์ 18 เม.ย. 2567(( ประกาศแล้ว )) รายชื่อผู้สอบผ่าน ภาค ก และ ข การสอบบรรจุรับราชการครูฯ ตำแหน่งบุคลากร 38 ค.(2) สังกัดสพฐ. ปีพ.ศ.2567 เช็กผลสอบ 38 ค. สพฐ. ได้ที่นี่

การพัฒนารูปแบบการมีส่วนร่วมโดยใช้ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ

usericon

ชื่อเรื่อง การพัฒนารูปแบบการมีส่วนร่วมโดยใช้ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อส่งเสริมสมรรถนะ การจัดการเรียนรู้ของครูโรงเรียนเมืองพัทยา 9 (วัดโพธิสัมพันธ์)
ผู้วิจัย นางสาวสุบิน วงษ์ธิ
สถานที่ โรงเรียนเมืองพัทยา 9 (วัดโพธิสัมพันธ์) ปีที่พิมพ์ 2565
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อพัฒนารูปแบบการมีส่วนร่วมโดยใช้ชุมชนแห่งการ เรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อส่งเสริมสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ของครูโรงเรียนเมืองพัทยา 9 (วัดโพธิสัมพันธ์) 2) เพื่อประเมินประสิทธิผลของรูปแบบการมีส่วนร่วมโดยใช้ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อส่งเสริม สมรรถนะการจัดการเรียนรู้ของครูโรงเรียนเมืองพัทยา 9 (วัดโพธิสัมพันธ์) 3) เพื่อขยายผลรูปแบบการมี ส่วนร่วมโดยใช้ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อส่งเสริมสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ของครูโรงเรียน เมืองพัทยา 9 (วัดโพธิสัมพันธ์) กลุ่มตัวอย่าง ที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ ครูโรงเรียนเมืองพัทยา 9 (วัดโพธิ สัมพันธ์) ระดับชั้นก่อนประถมศึกษาถึงมัธยมศึกษาตอนต้น จานวน 73 คน ที่กาลังศึกษาในปีการศึกษา 2564 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แบบประเมินสมรรถนะของครูด้านการออกแบบและสร้าง นวัตกรรมการศึกษาด้านการออกแบบการจัดการเรียนรู้ ด้านกระบวนการจัดการเรียนรู้ แบบประเมิน คุณลักษณะบุคคลแห่งการเรียนรู้ แบบประเมินความสามารถในการสร้างสรรค์นวัตกรรมของนักเรียน แบบสอบถามความคิดเห็นของครูผู้สอนที่มีต่อรูปแบบโรงเรียนชุมชนแห่งการเรียนรู้วิเคราะห์ข้อมูลโดย การหาค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัย พบว่า
1.รูปแบบการมีส่วนร่วมโดยใช้ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อส่งเสริมสมรรถนะการ จัดการเรียนรู้ของครูโรงเรียนเมืองพัทยา 9 (วัดโพธิสัมพันธ์) มีชื่อว่า“TJPED Model” ได้แก่ ขั้นที่ 1 Together to study and analyze problems (ร่วมกันศึกษาวิเคราะห์ปัญหา ความต้องการจาเป็น นโยบายและวิธีการพัฒนาวิชาชีพ) ขั้นที่ 2 Jointly raise awareness (ร่วมสร้างความตระหนักถึง ความสาคัญของการส่งเสริมความสามารถในการสร้างสรรค์นวัตกรรมของนักเรียนโดยการสร้างชุมชนแห่ง การเรียนรู้เชิงวิชาชีพที่เสริมสร้างสมรรถนะของครูในการจัดการเรียนรู้ ขั้นที่ 3 Participate in building a professional learning community (ส่วนร่วมสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ) ดาเนินการดังนี้ 3.1) Set Goal (กาหนดประเด็นที่จะพัฒนาสร้างบรรทัดฐานและค่านิยมร่วมกัน) 3.2) Plan (วาง แผนการสอน และพัฒนาเครื่องมือ) 3.3) Implement (ดาเนินการจัดการเรียนการสอนที่ตามที่ได้ วางแผนไว้) 3.4) Reflect (สะท้อนผลการจัดการเรียนรู้) ขั้นที่ 4 Exchange the results นาผลที่ได้มา แลกเปลี่ยนและนาความรู้ที่ดีมีการยอมรับมาใช้ในองค์กร ขั้นที่ 5 Dissemination for learning management การเผยแพร่เพื่อนาไปจัดการเรียนรู้ 2.ประสิทธิผลของรูปแบบพบว่า 1) สมรรถนะของ ครูด้านการออกแบบและสร้างนวัตกรรมการศึกษารู้อยู่ในระดับมาก 2) พัฒนาการสมรรถนะของครูด้าน การออกแบบการจัดการเรียนรู้อยู่ในระดับมาก 3) พัฒนาการสมรรถนะของครูด้าน กระบวนการจัดการ เรียนรู้อยู่ในระดับมาก 4) พัฒนาการของครูด้านคุณลักษณะของการเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้อยู่ในระดับ มาก 5) ความคิดเห็นของครูที่มีต่อรูปแบบอยู่ในระดับมาก 6) พัฒนาการความสามารถในการสร้างสรรค์
นวัตกรรมของนักเรียนอยู่ในระดับมาก 3.ผลการขยายผลรูปแบบพบว่า 1) สมรรถนะของครูด้านการ ออกแบบและสร้างนวัตกรรมการศึกษารู้อยู่ในระดับมากและ เห็นว่ารูปแบบการมีส่วนร่วมโดยใช้ชุมชน แห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อส่งเสริมสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ของครูโรงเรียนเมืองพัทยา 9 (วัดโพธิ สัมพันธ์) มีความเหมาะสม 2) สมรรถนะของครูด้าน การออกแบบการจัดการเรียนรู้อยู่ในระดับมาก 3) สมรรถนะของครูด้านกระบวนการจัดการเรียนรู้อยู่ในระดับมาก 4) พัฒนาการของครู ด้านคุณลักษณะ ของการเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้อยู่ในระดับมาก 5) ความคิดเห็นของครูที่มีต่อรูปแบบอยู่ในระดับมาก 6) พัฒนาการ ความสามารถในการสร้างสรรค์นวัตกรรมของนักเรียนอยู่ในระดับมาก

Title
The Development of a Participatory Model Using a Professional Learning Community to Enhance Learning Management Competencies of Teachers at Muang Pattaya 9 School (Wat Phothi Samphan)
Miss Subin Wongthi
Author
Area
Year published 2022
Muang Pattaya 9 School (Wat Phothi Samphan)
Abstract
The objectives of this research were 1) to develop a participatory model using a professional learning community to enhance the learning management competencies of teachers at Muang Pattaya 9 School (Wat Phothi Samphan),2)to assess the effectiveness of the participation model using a professional learning community to promote learning management competencies of teachers at Muang Pattaya 9 School (Wat Phothi Samphan), and 3) to expand the participation model by using a professional learning community to enhance the learning management competencies of teachers at Muang Pattaya 9 School (Wat Pho Samphan). The sample group used in this research were 73 teachers from pre-primary to secondary school levels of Muang Pattaya 9 School (Wat Phothi Samphan). The research tools consisted of a teacher competency assessment form for educational design and innovation, learning management design, and learning management process, learning person characteristics assessment form, student innovation ability assessment form, and a questionnaire on teachers' opinions toward the learning community school model. Data were analyzed by mean, standard deviation and content analysis.
The research results found that
1. A participatory model using a professional learning community to promote
learning management competencies of teachers at Muang Pattaya 9 School (Wat Phothi Samphan) was named “TJPED. Model”, which consists of step 1: Together to study and analyze problems (Together study and analyze problems, needs, policies and professional development methods), step 2: Jointly raise awareness (to raise awareness of the importance of fostering student innovation abilities by building professional learning communities that enhance teachers' competencies in learning management) and step 3: Participate in building a professional learning community (participating in building a professional learning community). In step 3, there were actions as follows: 3.1) Set Goal (Specify issues to be developed into common norms and values), 3.2) Plan

(Plan a lesson and development tools), 3.3) Implement (Proceed to manage the teaching as planned), 3.4) Reflect (reflecting the results of learning management), step 4: Exchange the results (Share the results and apply the good knowledge that has already been recognized in the organization), and step 5: Dissemination for learning management (dissemination for learning management).
2. In terms of the effectiveness of the model, it was found that 1) the teachers' competencies in designing and creating educational knowledge innovations were at a high level, 2) the progress of teachers' competencies in learning management design was at a high level, 3) the progress of teachers' competency in the learning management process was at a high level, 4) the teacher's progress on the characteristics of being a learning person were at a high level, 5) teachers' opinions toward the model were at a high level, and 6) the progress of the students' innovative ability was at a high level.
3.The results of the model dissemination revealed that: 1)teachers' competencies in designing and creating educational knowledge innovation were at a high level, and saw that the participation model using a professional learning community to promote learning management competencies of teachers at Muang Pattaya 9 School (Wat Phothi Samphan) was appropriate, 2)teachers' competencies in learning management design were at high levels, 3)teachers' competencies in learning management processes were at high levels, 4) teachers' progress in characteristics of being a learning person were at a high level, 5) teachers' opinions towards the model were at a high level and 6) the progress of the students' innovative ability was at a high level.
ร่วมแสดงความคิดเห็น
เงื่อนไข การร่วมแสดงความคิดเห็น!

ข้อความที่ท่านได้อ่าน เกิดจากการเขียนโดยสาธารณชน และส่งขึ้นมาแบบอัตโนมัติ เจ้าของเว็บไซต์ไม่รับผิดชอบต่อข้อความใดๆ ทั้งสิ้น เพราะไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นความจริงหรือ ชื่อผู้เขียนที่ได้เห็นคือชื่อจริง ผู้อ่านจึงควรใช้วิจารณญาณในการกลั่นกรอง และถ้าท่านพบเห็นข้อความใดที่ขัดต่อกฎหมายและศีลธรรม หรือเป็นการกลั่นแกล้งเพื่อให้เกิดความเสียหาย ต่อบุคคล หรือหน่วยงานใด กรุณาแจ้งมาที่ แนะนำติชม เพื่อให้ผู้ควบคุมระบบทราบและทำการลบข้อความนั้น ออกจากระบบต่อไป

ขอขอบพระคุณล่วงหน้า มา ณ โอกาสนี้

^