LASTEST NEWS

20 เม.ย. 2567(( รวมลิงก์ )) ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิสอบครูผู้ช่วย กรณีพิเศษ สังกัด สพฐ. ปี พ.ศ.2567 ทุกจังหวัด ทุกเขตพื้นที่ฯ ทั่วประเทศ 20 เม.ย. 2567(( รวมลิงก์ )) ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิสอบครูผู้ช่วย กรณีพิเศษ สังกัด สพฐ. ปี พ.ศ.2567 ทุกจังหวัด ทุกเขตพื้นที่ฯ ทั่วประเทศ 19 เม.ย. 2567(( รวมลิงก์ )) ประกาศผลการย้ายครู ครั้งที่ 1 ประจำปี พ.ศ.2567 ทุกจังหวัด ทุกเขตพื้นที่ฯ ทั่วประเทศ 19 เม.ย. 2567ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 ครั้งที่ 1 (รอบที่ 1) สพม.นครสวรรค์ - ผลย้ายครู 2567 สพม.นครสวรรค์ 19 เม.ย. 2567ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 ครั้งที่ 2 (รอบที่ 1) สพป.นราธิวาส เขต 1 - ผลย้ายครู 2567 สพป.นราธิวาส เขต 1 19 เม.ย. 2567ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 ครั้งที่ 1 (รอบที่ 1) สพป.น่าน เขต 1 - ผลย้ายครู 2567 สพป.น่าน เขต 1 19 เม.ย. 2567ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 ครั้งที่ 1 (รอบที่ 1) สพม.นครพนม - ผลย้ายครู 2567 สพม.นครพนม 19 เม.ย. 2567(( รวมลิงก์ )) ประกาศผลการย้ายครู ครั้งที่ 1 ประจำปี พ.ศ.2567 ทุกจังหวัด ทุกเขตพื้นที่ฯ ทั่วประเทศ 19 เม.ย. 2567ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 ครั้งที่ 1 (รอบที่ 1) สพป.ราชบุรี เขต 2 - ผลย้ายครู 2567 สพป.ราชบุรี เขต 2 19 เม.ย. 2567ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 ครั้งที่ 1 (รอบที่ 2) สพป.ขอนแก่น เขต 3 - ผลย้ายครู 2567 สพป.ขอนแก่น เขต 3

การพัฒนาทักษะการฟังและการพูดของเด็กปฐมวัยโดยใช้นิทานประกอบ

usericon

ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาทักษะการฟังและการพูดของเด็กปฐมวัยโดยการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ที่
ใช้นิทานประกอบภาพ ชั้นปฐมวัยปี่ที่ 1 (2 ปี)
ผู้วิจัย สุรีพร วิชัยศรี
ปีการศึกษา 2562
บทคัดย่อ
    งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาทักษะด้านการฟังและการพูดของเด็กปฐมวัย โดยการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ที่ใช้นิทานประกอบภาพ ประชากรที่ใช้ในการศึกษา นักเรียนระดับชั้นปฐมวัยปีที่ 1 ที่มีอายุ 2 ปี ที่กำลังศึกษาที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเหล่า ตำบลบ้านเหล่า อำเภอเจริญศิลป์ จังหวัดสกลนคร จำนวน 53 คน กลุ่มตัวอย่าง 28 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยแผนการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ นิทานประกอบภาพสำหรับเด็กปฐมวัยจำนวน 4 เรื่อง
ผลการวิจัยพบว่าทักษะการฟังมีค่าความยากง่าย (p) อยู่ระหว่าง 0.42-0.58 ค่าอำนาจจำแนก (r) อยู่ระหว่าง 0.35-0.44 และค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบเท่ากับ 0.85 ทักษะการพูดมีค่าความยากง่ายอยู่ระหว่าง 0.37-0.62 ค่าอำนาจจำแนกอยู่ระหว่าง 0.36-0.48 และค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบเท่ากับ 0.82 ผลการวิเคราะห์ถือว่าสามารถนำไปใช้ได้กับแบบทดสอบวัดทักษะการฟังและการพูดได้ทุกข้อ แบบสรุปวัดดัชนีความสอดคล้อง (IOC) (ทักษะการฟัง) ทั้งหมด 16 ข้อ (ทักษะการพูด) ทั้งหมด 20 ข้อ มีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์อย่างถูกต้อง แบบประเมินคุณภาพของผู้เชี่ยวชาญ (ด้านเนื้อหา และด้านสื่อ) มีค่าเฉลี่ย (x ̅) รวมทั้งสองอยู่ที่ 4.8 คะแนน ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) มีค่าเท่ากับ 0.269 ระดับคุณภาพอยู่ที่เกณฑ์ระดับมากที่สุด ผลการวิเคราะห์ผลต่างของทักษะการฟังและการพูด หลังการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์จะมีค่าคะแนนเพิ่มขึ้น มีค่าเฉลี่ยร้อยละ 92 คะแนนทดสอบก่อนเรียน มีค่าเฉลี่ย (x ̅) 14 คะแนน ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) มีค่าเท่ากับ 2.88 คะแนนทดสอบหลังเรียน มีค่าเฉลี่ย (x ̅) 92 คะแนน ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) มีค่าเท่ากับ 1.67 เมื่อตรวจสอบความแตกต่าง คะแนนทดสอบหลังเรียนมีค่าเฉลี่ยสูงกว่าคะแนนก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 เป็นการพัฒนาทักษะด้านการฟังและการพูด
ร่วมแสดงความคิดเห็น
เงื่อนไข การร่วมแสดงความคิดเห็น!

ข้อความที่ท่านได้อ่าน เกิดจากการเขียนโดยสาธารณชน และส่งขึ้นมาแบบอัตโนมัติ เจ้าของเว็บไซต์ไม่รับผิดชอบต่อข้อความใดๆ ทั้งสิ้น เพราะไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นความจริงหรือ ชื่อผู้เขียนที่ได้เห็นคือชื่อจริง ผู้อ่านจึงควรใช้วิจารณญาณในการกลั่นกรอง และถ้าท่านพบเห็นข้อความใดที่ขัดต่อกฎหมายและศีลธรรม หรือเป็นการกลั่นแกล้งเพื่อให้เกิดความเสียหาย ต่อบุคคล หรือหน่วยงานใด กรุณาแจ้งมาที่ แนะนำติชม เพื่อให้ผู้ควบคุมระบบทราบและทำการลบข้อความนั้น ออกจากระบบต่อไป

ขอขอบพระคุณล่วงหน้า มา ณ โอกาสนี้

^