LASTEST NEWS

25 เม.ย. 2567(( รวมลิงก์ )) ประกาศผลการย้ายครู ครั้งที่ 1 ประจำปี พ.ศ.2567 ทุกจังหวัด ทุกเขตพื้นที่ฯ ทั่วประเทศ 25 เม.ย. 2567สพป.บุรีรัมย์ เขต 1 ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 รอบที่ 1 (ครั้งที่ 1) - ผลย้ายครู 2567 สพป.บุรีรัมย์ เขต 1 25 เม.ย. 2567(( รวมลิงก์ )) ประกาศผลการย้ายครู ครั้งที่ 1 ประจำปี พ.ศ.2567 ทุกจังหวัด ทุกเขตพื้นที่ฯ ทั่วประเทศ 25 เม.ย. 2567สพป.เพชรบูรณ์ เขต 2 ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 รอบที่ 1 (ครั้งที่ 1) - ผลย้ายครู 2567 สพป.เพชรบูรณ์ เขต 2 25 เม.ย. 2567สพป.บุรีรัมย์ เขต 2 ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 รอบที่ 1 (ครั้งที่ 1) - ผลย้ายครู 2567 สพป.บุรีรัมย์ เขต 2 25 เม.ย. 2567สพม.สุราษฎร์ธานี ชุมพร ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 รอบที่ 1 (ครั้งที่ 1) - ผลย้ายครู 2567 สพม.สุราษฎร์ธานี ชุมพร 25 เม.ย. 2567สพป.สุราษฎร์ธานี เขต 1 ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 รอบที่ 1 (ครั้งที่ 1) - ผลย้ายครู 2567 สพป.สุราษฎร์ธานี เขต 1 25 เม.ย. 2567สพป.ยะลา เขต 1 ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 รอบที่ 1 (ครั้งที่ 1) - ผลย้ายครู 2567 สพป.ยะลา เขต 1 25 เม.ย. 2567สพป.นครราชสีมา เขต 7 ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 รอบที่ 1 (ครั้งที่ 1) - ผลย้ายครู 2567 สพป.นครราชสีมา เขต 7 25 เม.ย. 2567สพป.นนทบุรี เขต 1 ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 รอบที่ 1 (ครั้งที่ 1) - ผลย้ายครู 2567 สพป.นนทบุรี เขต 1

การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

usericon

บทคัดย่อ

เรื่อง        การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่องเกษตรอินทรีย์ วิถีพอเพียงชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ชื่อผู้วิจัย    นางวารี เกษศรี ตำแหน่งครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ
        โรงเรียนเทศบาลวัดคลองโพธิ์ เทศบาลเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์
ปีที่วิจัย    ปีการศึกษา 2562

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาสภาพปัญหาในการพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่องเกษตรอินทรีย์ วิถีพอเพียง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 1.เพื่อศึกษาสภาพปัญหาในการพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีเรื่องเกษตรอินทรีย์ วิถีพอเพียง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 2. เพื่อสร้างและหาประสิทธิภาพของ รูปแบบการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่องเกษตรอินทรีย์ วิถีพอเพียง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 3. เพื่อทดลองใช้รูปแบบการเรียนรู้ตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่องเกษตรอินทรีย์ วิถีพอเพียง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 4.เพื่อประเมินรูปแบบการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่องเกษตรอินทรีย์ วิถีพอเพียง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 แหล่งข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาวิจัยสภาพปัญหา คือ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและการงานอาชีพและเทคโนโลยีสาระที่ 4 งานอาชีพ แนวคิดทฤษฏีหลักการเนื้อหาสาระรูปแบบวิธีการและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่องเกษตรอินทรีย์ วิถีพอเพียง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 บุคลากรของโรงเรียนเทศบาลวัดคลองโพธิ์ที่ใช้ในการจัดสนทนากลุ่ม จำนวน 7 คนประกอบด้วย รองผู้อำนวยการ ฝ่ายวิชาการ จำนวน 1 คน หัวหน้างานวิชาการโรงเรียน จำนวน 1 คน หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี จำนวน 1 คน และครูผู้สอนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 4 คน แหล่งข้อมูลที่ใช้ในการวิจัยขั้นศึกษาสภาพปัญหาคือ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี แนวคิดทฤษฏี หลักการ เนื้อหาสาระ รูปแบบ วิธีการและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่องเกษตรอินทรีย์ วิถีพอเพียง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ขั้นการสร้างและหาประสิทธิภาพของรูปแบบการสอนให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 คือ (1) ผู้เชี่ยวชาญที่มีความรู้ความสามารถด้านเนื้อหา ทางการงานอาชีพและเทคโนโลยี จำนวน 3 ท่านผู้เชี่ยวชาญที่มีความรู้ความสามารถด้านวิจัยและวัดผลประเมินผล จำนวน 1 ท่าน ผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหารงานวิชาการ (ผู้อำนวยการสถานศึกษา)จำนวน 1ท่าน (1) นักเรียนกลุ่มทดลอง ประกอบด้วยกลุ่มทดลองรายบุคคล ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนเทศบาลวัดคลองโพธิ์ อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ จำนวน 3 คน กลุ่มเล็ก ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 จำนวน 9 คน กลุ่มภาคสนาม ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/2 ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561 จำนวน 30 คน ขั้นศึกษาผลการใช้และขั้นศึกษาความพึงพอใจในรูปแบบการเรียน คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 โรงเรียนเทศบาลวัดคลองโพธิ์ จำนวน 33 คน ได้มาจากการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ คือ (1) แบบวิเคราะห์หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี (2) แบบวิเคราะห์แนวคิดทฤษฏี หลักการ เนื้อหาสาระ รูปแบบ วิธีการ ผลการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับรูปแบบการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง(3)รูปแบบการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่องเกษตรอินทรีย์ วิถีพอเพียง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 (4) แผนการจัดเรียนรู้ประกอบการใช้รูปแบบการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่องเกษตรอินทรีย์ วิถีพอเพียงชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 (5) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังการใช้รูปแบบการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง1เกษตรอินทรีย์ วิถีพอเพียง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 (6) แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียน หลังการใช้รูปแบบการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่องเกษตรอินทรีย์ วิถีพอเพียง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 (7) แบบประเมินรูปแบบการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่องเกษตรอินทรีย์ วิถีพอเพียง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สถิติที่ใช้คือ ค่าเฉลี่ย (Mean) ค่าเฉลี่ยร้อยละ ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และค่า t – test (7) แบบประเมินรูปแบบการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ และเทคโนโลยี เรื่องเกษตรอินทรีย์ วิถีพอเพียง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สถิติที่ใช้คือ ค่าเฉลี่ย (Mean) ค่าเฉลี่ยร้อยละ ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และค่า t – test

สรุปผลการวิจัย
    1. การศึกษาสภาพปัญหาในการพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่องเกษตรอินทรีย์ วิถีพอเพียง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 พบว่า ครู นักเรียนและทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องต้องการให้มีการพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่องเกษตรอินทรีย์ วิถีพอเพียงชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สอดคล้องกับหน่วยการจัดการเรียนรู้ โดยเรียนรู้จากการปฏิบัติ เรื่องที่นำมาพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีเนื้อหา จากความต้องการและความสนใจของนักเรียนเป็นสำคัญ ควรจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยยึดนักเรียนเป็นสำคัญและความแตกต่างระหว่างบุคคล
    2. การสร้างและหาประสิทธิภาพของรูปแบบการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่องเกษตรอินทรีย์ วิถีพอเพียง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 พบว่า รูปแบบการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่องเกษตรอินทรีย์ วิถีพอเพียง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีประสิทธิภาพ เท่ากับ 81.67/82.50 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนดไว้ 80/80
    3. การศึกษาผลการใช้รูปแบบการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่องเกษตรอินทรีย์ วิถีพอเพียง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 พบว่า นักเรียนที่ได้เรียนด้วยรูปแบบการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่องเกษตรอินทรีย์ วิถีพอเพียง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 พบว่า มีค่าเฉลี่ยของคะแนนการทดสอบก่อนเรียนเท่ากับ 19 และหลังเรียน เท่ากับ 25 คิดค่าเฉลี่ยเท่ากับ 63.33/83.33สูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานที่ตั้งไว้ 80/80 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
    4. การประเมินรูปแบบการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่องเกษตรอินทรีย์ วิถีพอเพียง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 5 ท่าน ได้ค่าเฉลี่ยโดยรวม เท่ากับ 4.81 (ภาคผนวก ง) แสดงว่า รูปแบบการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่องเกษตรอินทรีย์ วิถีพอเพียง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สามารถนำไปใช้จัดการเรียนรู้ได้



cyber_se 26 ส.ค. 2563 เวลา 21:48 น. 0 552
ร่วมแสดงความคิดเห็น
เงื่อนไข การร่วมแสดงความคิดเห็น!

ข้อความที่ท่านได้อ่าน เกิดจากการเขียนโดยสาธารณชน และส่งขึ้นมาแบบอัตโนมัติ เจ้าของเว็บไซต์ไม่รับผิดชอบต่อข้อความใดๆ ทั้งสิ้น เพราะไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นความจริงหรือ ชื่อผู้เขียนที่ได้เห็นคือชื่อจริง ผู้อ่านจึงควรใช้วิจารณญาณในการกลั่นกรอง และถ้าท่านพบเห็นข้อความใดที่ขัดต่อกฎหมายและศีลธรรม หรือเป็นการกลั่นแกล้งเพื่อให้เกิดความเสียหาย ต่อบุคคล หรือหน่วยงานใด กรุณาแจ้งมาที่ แนะนำติชม เพื่อให้ผู้ควบคุมระบบทราบและทำการลบข้อความนั้น ออกจากระบบต่อไป

ขอขอบพระคุณล่วงหน้า มา ณ โอกาสนี้

^