LASTEST NEWS

19 เม.ย. 2567(( รวมลิงก์ )) ประกาศผลการย้ายครู ครั้งที่ 1 ประจำปี พ.ศ.2567 ทุกจังหวัด ทุกเขตพื้นที่ฯ ทั่วประเทศ 19 เม.ย. 2567ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 ครั้งที่ 1 (รอบที่ 1) สพม.นครสวรรค์ - ผลย้ายครู 2567 สพม.นครสวรรค์ 19 เม.ย. 2567ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 ครั้งที่ 2 (รอบที่ 1) สพป.นราธิวาส เขต 1 - ผลย้ายครู 2567 สพป.นราธิวาส เขต 1 19 เม.ย. 2567ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 ครั้งที่ 1 (รอบที่ 1) สพป.น่าน เขต 1 - ผลย้ายครู 2567 สพป.น่าน เขต 1 19 เม.ย. 2567ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 ครั้งที่ 1 (รอบที่ 1) สพม.นครพนม - ผลย้ายครู 2567 สพม.นครพนม 19 เม.ย. 2567(( รวมลิงก์ )) ประกาศผลการย้ายครู ครั้งที่ 1 ประจำปี พ.ศ.2567 ทุกจังหวัด ทุกเขตพื้นที่ฯ ทั่วประเทศ 19 เม.ย. 2567ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 ครั้งที่ 1 (รอบที่ 1) สพป.ราชบุรี เขต 2 - ผลย้ายครู 2567 สพป.ราชบุรี เขต 2 19 เม.ย. 2567ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 ครั้งที่ 1 (รอบที่ 2) สพป.ขอนแก่น เขต 3 - ผลย้ายครู 2567 สพป.ขอนแก่น เขต 3 19 เม.ย. 2567ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 ครั้งที่ 1 (รอบที่ 1) สพป.เชียงใหม่ เขต 2 - ผลย้ายครู 2567 สพป.เชียงใหม่ เขต 2 19 เม.ย. 2567ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 ครั้งที่ 1 (รอบที่ 1) สพป.นครสวรรค์ เขต 1 - ผลย้ายครู 2567 สพป.นครสวรรค์ เขต 1

บทความงานวิจัยเรื่องประเมินโครงการลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้

usericon

บทคัดย่อ
    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ประเมินผลโครงการทั้งสี่ด้าน ได้แก่ ด้านสภาพแวดล้อม ด้านปัจจัยเบื้องต้น ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต 2) เพื่อประเมินความคิดเห็นของครูและนักเรียน 3) เพื่อศึกษาแนวทางในการพัฒนาโครงการในอนาคต โดยใช้รูปแบบการประเมิน แบบ ซิป โมเดล (CIPP Model) ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ เป็นครู จำนวน 23 คน ใช้กลุ่มประชากรเป็นกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 23 คน และเป็นนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ จำนวน 406 คน ใช้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 202 คน หากลุ่มประชากร จากสูตรของ Taro Yamane และใช้วิธีสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ประเมินเป็นแบบสอบถามเลือกตอบแบบมาตราส่วนประมาณค่า และแบบปลายเปิด จากนั้นนำข้อมูลมาวิเคราะห์ โดยหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการประเมินดังนี้
1)     ผลการประเมินทั้งสี่ด้าน พบว่าผู้ตอบแบบประเมินมีความเห็นระดับมากในทุกด้าน
2)    ครูและนักเรียนมีความคิดเห็นว่าโครงการเป็นโครงการที่ดี สมควรดำเนินโครงการต่อเนื่องและโครงการมีผลดีต่อการสร้างเจตคติที่ดีต่อการเรียนสายวิชาชีพ
3)    แนวทางในการพัฒนาโครงการต่อ ได้แก่ การเพิ่มชั่วโมงปฏิบัติให้มากขึ้น การเพิ่มวัสดุครุภัณฑ์ ในการจัดการเรียนการสอน และการอำนวยความสะดวกในการเดินทางมาเรียน ให้ครูสอนแบบสนุกสนาน
https://drive.google.com/open?id=1HLQVitn8E23QlxjGW10T19r9EwQMbBp-
supachaiopor 02 เม.ย. 2563 เวลา 10:57 น. 0 496
ร่วมแสดงความคิดเห็น
เงื่อนไข การร่วมแสดงความคิดเห็น!

ข้อความที่ท่านได้อ่าน เกิดจากการเขียนโดยสาธารณชน และส่งขึ้นมาแบบอัตโนมัติ เจ้าของเว็บไซต์ไม่รับผิดชอบต่อข้อความใดๆ ทั้งสิ้น เพราะไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นความจริงหรือ ชื่อผู้เขียนที่ได้เห็นคือชื่อจริง ผู้อ่านจึงควรใช้วิจารณญาณในการกลั่นกรอง และถ้าท่านพบเห็นข้อความใดที่ขัดต่อกฎหมายและศีลธรรม หรือเป็นการกลั่นแกล้งเพื่อให้เกิดความเสียหาย ต่อบุคคล หรือหน่วยงานใด กรุณาแจ้งมาที่ แนะนำติชม เพื่อให้ผู้ควบคุมระบบทราบและทำการลบข้อความนั้น ออกจากระบบต่อไป

ขอขอบพระคุณล่วงหน้า มา ณ โอกาสนี้

^