LASTEST NEWS

25 เม.ย. 2567(( รวมลิงก์ )) ประกาศผลการย้ายครู ครั้งที่ 1 ประจำปี พ.ศ.2567 ทุกจังหวัด ทุกเขตพื้นที่ฯ ทั่วประเทศ 25 เม.ย. 2567สพป.บุรีรัมย์ เขต 1 ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 รอบที่ 1 (ครั้งที่ 1) - ผลย้ายครู 2567 สพป.บุรีรัมย์ เขต 1 25 เม.ย. 2567(( รวมลิงก์ )) ประกาศผลการย้ายครู ครั้งที่ 1 ประจำปี พ.ศ.2567 ทุกจังหวัด ทุกเขตพื้นที่ฯ ทั่วประเทศ 25 เม.ย. 2567สพป.เพชรบูรณ์ เขต 2 ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 รอบที่ 1 (ครั้งที่ 1) - ผลย้ายครู 2567 สพป.เพชรบูรณ์ เขต 2 25 เม.ย. 2567สพป.บุรีรัมย์ เขต 2 ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 รอบที่ 1 (ครั้งที่ 1) - ผลย้ายครู 2567 สพป.บุรีรัมย์ เขต 2 25 เม.ย. 2567สพม.สุราษฎร์ธานี ชุมพร ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 รอบที่ 1 (ครั้งที่ 1) - ผลย้ายครู 2567 สพม.สุราษฎร์ธานี ชุมพร 25 เม.ย. 2567สพป.สุราษฎร์ธานี เขต 1 ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 รอบที่ 1 (ครั้งที่ 1) - ผลย้ายครู 2567 สพป.สุราษฎร์ธานี เขต 1 25 เม.ย. 2567สพป.ยะลา เขต 1 ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 รอบที่ 1 (ครั้งที่ 1) - ผลย้ายครู 2567 สพป.ยะลา เขต 1 25 เม.ย. 2567สพป.นครราชสีมา เขต 7 ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 รอบที่ 1 (ครั้งที่ 1) - ผลย้ายครู 2567 สพป.นครราชสีมา เขต 7 25 เม.ย. 2567สพป.นนทบุรี เขต 1 ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 รอบที่ 1 (ครั้งที่ 1) - ผลย้ายครู 2567 สพป.นนทบุรี เขต 1

กลยุทธ์การบริหารการศึกษาโดยใช้เทคนิคการมีส่วนร่วม เพื่อยกระดับผล

usericon

กลยุทธ์การบริหารการศึกษาโดยใช้เทคนิคการมีส่วนร่วม เพื่อยกระดับผล
บทคัดย่อ     การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. ศึกษาสภาพปัจจุบันและปัญหาของการบริหารการศึกษาของโรงเรียนเทศบาลพระพุทธบาท เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน 2. ศึกษาความต้องการการมีส่วนร่วมของสถานศึกษาจากเทศบาล คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษาและครู องค์กรชุมชน ผู้ปกครอง และนักเรียนโรงเรียนเทศบาลพระพุทธบาท 3. สร้างและพัฒนากลยุทธ์การบริหารการศึกษาโดยใช้เทคนิคการมีส่วนร่วมเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โรงเรียนเทศบาลพระพุทธบาท สังกัดเทศบาลเมืองพระพุทธบาท จังหวัดสระบุรี ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1.    สภาพปัจจุบันและปัญหาของการบริหารการศึกษาของโรงเรียนเทศบาลพระพุทธบาท พบว่า ยังขาดการบริหารจัดการศึกษาอย่างเป็นระบบ เนื่องจากโรงเรียนขาดผู้อำนวยการสถานศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษามีบทบาทไม่ตรงกับหน้าที่ และครูมีคุณวุฒิไม่ตรงกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่สอนและมีภาระหนักมากในการจัดการเรียนการสอนให้กับนักเรียนที่มาจากชุมชนที่ครอบครัวไม่มีเวลาและความรู้พอที่จะสอนการบ้านต่อจากครูได้     2. ความต้องการการมีส่วนร่วมของสถานศึกษาจากเทศบาล คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษาและครู องค์กรชุมชน ผู้ปกครอง และนักเรียนโรงเรียนเทศบาลพระพุทธบาท เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน ได้แก่ (1) ให้ผู้บริหารเทศบาลให้ความสำคัญกับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานในท้องถิ่นมาเป็นอันดับหนึ่ง (2) ให้มีการสรรหาคณะกรรมการสถานศึกษาที่มีความรู้ความเข้าใจในบทบาทของกรรมการสถานศึกษาในการทำหน้าที่อย่างเต็มที่ (3) ให้ผู้บริหารสถานศึกษาและครูทุ่มเทและเสียสละเพื่อเยาวชนอย่างเต็มความสามารถโดยเทศบาลสนับสนุนสิ่งจูงใจในการปฏิบัติงาน (4) ให้องค์กรชุมชนใช้ความสัมพันธ์ส่วนบุคคลรวมตัวกันอย่างไม่เป็นทางการและประสานความร่วมมือกับสถานศึกษาเพื่อช่วยเหลือนักเรียน (5) ให้ผู้ปกครองประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดีแก่บุตรหลานเพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กับพื้นฐานของครอบครัว และ (6) สร้างกิจกรรมกระตุ้นให้นักเรียนพัฒนาตนเองเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3. กลยุทธ์การบริหารการศึกษาโดยใช้เทคนิคการมีส่วนร่วมเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนโรงเรียนเทศบาลพระพุทธบาท คือ กลยุทธ์การมีส่วนแบบมีพันธะสัญญา ประกอบด้วย (1) มีวัตถุประสงค์ที่สำคัญคือ เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนโรงเรียนเทศบาลพระพุทธบาท (2) หลักการแนวคิดที่สำคัญคือ ส่งเสริมแนวคิดการมีส่วนร่วมและพันธะสัญญาในในการทำงานร่วมกันระหว่างเทศบาล โรงเรียน คณะกรรมการสถานศึกษา องค์กรชุมชน ผู้ปกครองและเด็ก (3) ลักษณะการมีส่วนร่วมที่สำคัญคือ การมีส่วนร่วมอย่างเป็นทางการโดยเป็นกรรมการและช่วยสอน และการมีส่วนร่วมอย่างไม่เป็นทางการโดยการพูดคุยและเข้าร่วมกิจกรรม (4) กระบวนการการมีส่วนร่วมที่สำคัญคือ การร่วมตัดสินใจและดำเนินการ (5) บทบาทของการมีส่วนร่วมที่สำคัญคือ ด้านวิชาการและด้านงบประมาณ
longjoypkms 22 มี.ค. 2556 เวลา 22:09 น. 0 2,376
usericon

กลยุทธ์การบริหารการศึกษาโดยใช้เทคนิคการมีส่วนร่วม เพื่อยกระดับผล
    อ้างอิงกระทู้ (Quote Tpoic ID) 662 โดย (By) longjoypkms :
    บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. ศึกษาสภาพปัจจุบันและปัญหาของการบริหารการศึกษาของโรงเรียนเทศบาลพระพุทธบาท เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน 2. ศึกษาความต้องการการมีส่วนร่วมของสถานศึกษาจากเทศบาล คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษาและครู องค์กรชุมชน ผู้ปกครอง และนักเรียนโรงเรียนเทศบาลพระพุทธบาท 3. สร้างและพัฒนากลยุทธ์การบริหารการศึกษาโดยใช้เทคนิคการมีส่วนร่วมเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โรงเรียนเทศบาลพระพุทธบาท สังกัดเทศบาลเมืองพระพุทธบาท จังหวัดสระบุรี ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. สภาพปัจจุบันและปัญหาของการบริหารการศึกษาของโรงเรียนเทศบาลพระพุทธบาท พบว่า ยังขาดการบริหารจัดการศึกษาอย่างเป็นระบบ เนื่องจากโรงเรียนขาดผู้อำนวยการสถานศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษามีบทบาทไม่ตรงกับหน้าที่ และครูมีคุณวุฒิไม่ตรงกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่สอนและมีภาระหนักมากในการจัดการเรียนการสอนให้กับนักเรียนที่มาจากชุมชนที่ครอบครัวไม่มีเวลาและความรู้พอที่จะสอนการบ้านต่อจากครูได้ 2. ความต้องการการมีส่วนร่วมของสถานศึกษาจากเทศบาล คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษาและครู องค์กรชุมชน ผู้ปกครอง และนักเรียนโรงเรียนเทศบาลพระพุทธบาท เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน ได้แก่ (1) ให้ผู้บริหารเทศบาลให้ความสำคัญกับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานในท้องถิ่นมาเป็นอันดับหนึ่ง (2) ให้มีการสรรหาคณะกรรมการสถานศึกษาที่มีความรู้ความเข้าใจในบทบาทของกรรมการสถานศึกษาในการทำหน้าที่อย่างเต็มที่ (3) ให้ผู้บริหารสถานศึกษาและครูทุ่มเทและเสียสละเพื่อเยาวชนอย่างเต็มความสามารถโดยเทศบาลสนับสนุนสิ่งจูงใจในการปฏิบัติงาน (4) ให้องค์กรชุมชนใช้ความสัมพันธ์ส่วนบุคคลรวมตัวกันอย่างไม่เป็นทางการและประสานความร่วมมือกับสถานศึกษาเพื่อช่วยเหลือนักเรียน (5) ให้ผู้ปกครองประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดีแก่บุตรหลานเพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กับพื้นฐานของครอบครัว และ (6) สร้างกิจกรรมกระตุ้นให้นักเรียนพัฒนาตนเองเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3. กลยุทธ์การบริหารการศึกษาโดยใช้เทคนิคการมีส่วนร่วมเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนโรงเรียนเทศบาลพระพุทธบาท คือ กลยุทธ์การมีส่วนแบบมีพันธะสัญญา ประกอบด้วย (1) มีวัตถุประสงค์ที่สำคัญคือ เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนโรงเรียนเทศบาลพระพุทธบาท (2) หลักการแนวคิดที่สำคัญคือ ส่งเสริมแนวคิดการมีส่วนร่วมและพันธะสัญญาในในการทำงานร่วมกันระหว่างเทศบาล โรงเรียน คณะกรรมการสถานศึกษา องค์กรชุมชน ผู้ปกครองและเด็ก (3) ลักษณะการมีส่วนร่วมที่สำคัญคือ การมีส่วนร่วมอย่างเป็นทางการโดยเป็นกรรมการและช่วยสอน และการมีส่วนร่วมอย่างไม่เป็นทางการโดยการพูดคุยและเข้าร่วมกิจกรรม (4) กระบวนการการมีส่วนร่วมที่สำคัญคือ การร่วมตัดสินใจและดำเนินการ (5) บทบาทของการมีส่วนร่วมที่สำคัญคือ ด้านวิชาการและด้านงบประมาณ
ความคิดเห็นที่ #1 banchabunsing 24 มี.ค. 2556 เวลา 17:24 น. 10.101.xx.xx
ร่วมแสดงความคิดเห็น
เงื่อนไข การร่วมแสดงความคิดเห็น!

ข้อความที่ท่านได้อ่าน เกิดจากการเขียนโดยสาธารณชน และส่งขึ้นมาแบบอัตโนมัติ เจ้าของเว็บไซต์ไม่รับผิดชอบต่อข้อความใดๆ ทั้งสิ้น เพราะไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นความจริงหรือ ชื่อผู้เขียนที่ได้เห็นคือชื่อจริง ผู้อ่านจึงควรใช้วิจารณญาณในการกลั่นกรอง และถ้าท่านพบเห็นข้อความใดที่ขัดต่อกฎหมายและศีลธรรม หรือเป็นการกลั่นแกล้งเพื่อให้เกิดความเสียหาย ต่อบุคคล หรือหน่วยงานใด กรุณาแจ้งมาที่ แนะนำติชม เพื่อให้ผู้ควบคุมระบบทราบและทำการลบข้อความนั้น ออกจากระบบต่อไป

ขอขอบพระคุณล่วงหน้า มา ณ โอกาสนี้

^