LASTEST NEWS

29 มี.ค. 2567(( รวมลิงก์ )) ประกาศรับสมัครสอบครูผู้ช่วย กรณีพิเศษ สังกัด สพฐ. ปี พ.ศ.2567 ทุกจังหวัด ทุกเขตพื้นที่ฯ ทั่วประเทศ 29 มี.ค. 2567(( รวมลิงก์ )) ประกาศรับสมัครสอบครูผู้ช่วย กรณีพิเศษ สังกัด สพฐ. ปี พ.ศ.2567 ทุกจังหวัด ทุกเขตพื้นที่ฯ ทั่วประเทศ 29 มี.ค. 2567(( รวมลิงก์ )) ประกาศผลการย้ายครู ครั้งที่ 1 ประจำปี พ.ศ.2567 ทุกจังหวัด ทุกเขตพื้นที่ฯ ทั่วประเทศ 29 มี.ค. 2567สพป.บุรีรัมย์ เขต 3 รับสมัครสอบครูผู้ช่วย กรณีพิเศษ ปี พ.ศ.2567 จำนวน 26 อัตรา ตั้งแต่วันที่ 5-11 เม.ย.2567 29 มี.ค. 2567(( รวมลิงก์ )) ประกาศผลการย้ายครู ครั้งที่ 1 ประจำปี พ.ศ.2567 ทุกจังหวัด ทุกเขตพื้นที่ฯ ทั่วประเทศ 29 มี.ค. 2567ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 ครั้งที่ 1 (รอบที่ 1) สพป.ชลบุรี เขต 3 - ผลย้ายครู 2567 สพป.ชลบุรี เขต 3 29 มี.ค. 2567ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 ครั้งที่ 1 (รอบที่ 1) สพป.สงขลา เขต 1 - ผลย้ายครู 2567 สพป.สงขลา เขต 1 29 มี.ค. 2567ประกาศผลย้ายครู ปี 2567 ครั้งที่ 1 (รอบที่ 1) สพป.พิจิตร เขต 2 - ผลย้ายครู 2567 สพป.พิจิตร เขต 2 29 มี.ค. 2567สพป.เพชรบุรี เขต 1 รับสมัครสอบครูผู้ช่วย กรณีพิเศษ ปี พ.ศ.2567 จำนวน 5 อัตรา ตั้งแต่วันที่ 5-11 เม.ย.2567 29 มี.ค. 2567สพม.เพชรบุรี รับสมัครสอบครูผู้ช่วย กรณีพิเศษ ปี พ.ศ.2567 จำนวน 7 อัตรา ตั้งแต่วันที่ 5-11 เม.ย.2567

การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความน่าจะเป็น

usericon

การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความน่าจะเป็น
ชื่อเรื่อง : การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความน่าจะเป็น ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยการเรียนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ (STAD)

ชื่อผู้ศึกษา : นายวิเชียร กันยานะ

บทคัดย่อ

    การศึกษาการพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความน่าจะเป็น ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยการเรียนแบบร่วมมือกันเรียนรู้(STAD) มีวัตถุประสงค์เพื่อ
1) เพื่อพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้เทคนิค STAD
เรื่อง ความน่าจะเป็น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 2) เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชา ค23102 คณิตศาสตร์พื้นฐาน เรื่อง ความน่าจะเป็น ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยไม่ต่ำกว่าร้อยละ 70 และมีจำนวนนักเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตั้งแต่ร้อยละ 70 ขึ้นไป กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3โรงเรียนโคกนางามพิทยาสรรพ์ อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 25 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555 จำนวน 23 คน ใช้เนื้อหารายวิชา ค23102 คณิตศาสตร์พื้นฐาน เรื่อง ความน่าจะเป็น เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ เครื่องมือที่ใช้ทดลองปฏิบัติการ ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมแบบร่วมมือกันเรียนรู้ จำนวน 15 แผน เครื่องมือที่ใช้สะท้อนผลการปฏิบัติ ได้แก่ แบบบันทึกการสังเกตการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบบันทึกการสะท้อนผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนของนักเรียน แบบสัมภาษณ์นักเรียนเกี่ยวกับกิจกรรมการเรียนรู้ แบบทดสอบย่อยท้ายวงจร ผลงานนักเรียน และเครื่องมือที่ใช้ประเมินประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้ ได้แก่ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณใช้ค่าสถิติพื้นฐาน คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ร้อยละ การทดสอบค่าที (t-test) และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพโดยการอธิบายเป็นความเรียง
    การศึกษาครั้งนี้ผู้ศึกษาใช้กระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการ มีขั้นตอนการปฏิบัติ 4 ขั้นตอน คือ ขั้นที่ 1 ขั้นวางแผนการปฏิบัติ ขั้นที่ 2 ขั้นปฏิบัติการ ขั้นที่ 3 ขั้นสังเกตการณ์ ขั้นที่ 4 ขั้นสะท้อนผลการปฏิบัติ และมีวงจรปฏิบัติการวิจัย 3 วงจร คือ วงจรปฏิบัติการที่ 1 ประกอบด้วยแผนจัดการเรียนรู้ที่ 1–7 วงจรปฏิบัติการที่ 2 ประกอบด้วยแผนจัดการเรียนรู้ที่ 8–11 และวงจรปฏิบัติการที่ 3 ประกอบด้วยแผนจัดการเรียนรู้ที่ 12–15
    
    ผลการศึกษา พบว่า
1)    การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยการเรียนแบบร่วมมือกันเรียนรู้เทคนิค STAD เป็นการ
จัดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ มีเป้าหมายเพื่อให้ผู้เรียนเกิดพัฒนาการและมีทักษะทางปัญญา ทักษะ
ทางสังคมและความรู้สึกในการเห็นคุณค่าของตนเอง ยึดหลักการให้ผู้เรียนได้ตระหนักถึงรางวัลหรือเป้าหมายของกลุ่ม ความสามารถของแต่ละบุคคลในกลุ่มมีผลต่อรางวัลและแต่ละบุคคลมีโอกาสในการช่วยเหลือให้กลุ่มประสบผลสำเร็จเท่าเทียมกัน มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 5 ขั้นตอน คือ ขั้นนำ ขั้นเสนอบทเรียนต่อทั้งชั้น ขั้นศึกษากลุ่มย่อย ขั้นสรุป และขั้นวัดผล ครูเป็นผู้กระตุ้น เสนอแนวทาง ให้คำปรึกษาในการเรียน นักเรียนร่วมมือกันปฏิบัติกิจกรรมโดยคำนึงถึงหลักการและเป้าหมาย ทำให้บรรยากาศในชั้นเรียนมีความเป็นกันเอง นักเรียนช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ทำกิจกรรมร่วมกันอย่างชื่นชม จากการสังเกตพบว่านักเรียนมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์ ซึ่งพัฒนาและเกิดขึ้นจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยการเรียนแบบร่วมมือกันเรียนรู้
    2) นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความน่าจะเป็น คิดเป็นคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 71.59 และมีจำนวนนักเรียนร้อยละ 78.26 ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตั้งแต่ร้อยละ 70 ขึ้นไป ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด

wichian 09 ก.ย. 2556 เวลา 14:07 น. 0 2,810
usericon

การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความน่าจะเป็น
:em21:
ความคิดเห็นที่ #1 wichian 09 ก.ย. 2556 เวลา 14:11 น. 1.2.xxx.xxx
usericon

การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความน่าจะเป็น
[blockquote] อ้างถึง การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความน่าจะเป็น [hr]ชื่อเรื่อง : การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความน่าจะเป็น ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยการเรียนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ (STAD)

ชื่อผู้ศึกษา : นายวิเชียร กันยานะ

บทคัดย่อ

    การศึกษาการพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความน่าจะเป็น ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยการเรียนแบบร่วมมือกันเรียนรู้(STAD) มีวัตถุประสงค์เพื่อ
1) เพื่อพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้เทคนิค STAD
เรื่อง ความน่าจะเป็น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 2) เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชา ค23102 คณิตศาสตร์พื้นฐาน เรื่อง ความน่าจะเป็น ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยไม่ต่ำกว่าร้อยละ 70 และมีจำนวนนักเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตั้งแต่ร้อยละ 70 ขึ้นไป กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3โรงเรียนโคกนางามพิทยาสรรพ์ อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 25 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555 จำนวน 23 คน ใช้เนื้อหารายวิชา ค23102 คณิตศาสตร์พื้นฐาน เรื่อง ความน่าจะเป็น เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ เครื่องมือที่ใช้ทดลองปฏิบัติการ ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมแบบร่วมมือกันเรียนรู้ จำนวน 15 แผน เครื่องมือที่ใช้สะท้อนผลการปฏิบัติ ได้แก่ แบบบันทึกการสังเกตการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบบันทึกการสะท้อนผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนของนักเรียน แบบสัมภาษณ์นักเรียนเกี่ยวกับกิจกรรมการเรียนรู้ แบบทดสอบย่อยท้ายวงจร ผลงานนักเรียน และเครื่องมือที่ใช้ประเมินประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้ ได้แก่ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณใช้ค่าสถิติพื้นฐาน คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ร้อยละ การทดสอบค่าที (t-test) และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพโดยการอธิบายเป็นความเรียง
    การศึกษาครั้งนี้ผู้ศึกษาใช้กระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการ มีขั้นตอนการปฏิบัติ 4 ขั้นตอน คือ ขั้นที่ 1 ขั้นวางแผนการปฏิบัติ ขั้นที่ 2 ขั้นปฏิบัติการ ขั้นที่ 3 ขั้นสังเกตการณ์ ขั้นที่ 4 ขั้นสะท้อนผลการปฏิบัติ และมีวงจรปฏิบัติการวิจัย 3 วงจร คือ วงจรปฏิบัติการที่ 1 ประกอบด้วยแผนจัดการเรียนรู้ที่ 1–7 วงจรปฏิบัติการที่ 2 ประกอบด้วยแผนจัดการเรียนรู้ที่ 8–11 และวงจรปฏิบัติการที่ 3 ประกอบด้วยแผนจัดการเรียนรู้ที่ 12–15
    
    ผลการศึกษา พบว่า
1)    การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยการเรียนแบบร่วมมือกันเรียนรู้เทคนิค STAD เป็นการ
จัดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ มีเป้าหมายเพื่อให้ผู้เรียนเกิดพัฒนาการและมีทักษะทางปัญญา ทักษะ
ทางสังคมและความรู้สึกในการเห็นคุณค่าของตนเอง ยึดหลักการให้ผู้เรียนได้ตระหนักถึงรางวัลหรือเป้าหมายของกลุ่ม ความสามารถของแต่ละบุคคลในกลุ่มมีผลต่อรางวัลและแต่ละบุคคลมีโอกาสในการช่วยเหลือให้กลุ่มประสบผลสำเร็จเท่าเทียมกัน มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 5 ขั้นตอน คือ ขั้นนำ ขั้นเสนอบทเรียนต่อทั้งชั้น ขั้นศึกษากลุ่มย่อย ขั้นสรุป และขั้นวัดผล ครูเป็นผู้กระตุ้น เสนอแนวทาง ให้คำปรึกษาในการเรียน นักเรียนร่วมมือกันปฏิบัติกิจกรรมโดยคำนึงถึงหลักการและเป้าหมาย ทำให้บรรยากาศในชั้นเรียนมีความเป็นกันเอง นักเรียนช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ทำกิจกรรมร่วมกันอย่างชื่นชม จากการสังเกตพบว่านักเรียนมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์ ซึ่งพัฒนาและเกิดขึ้นจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยการเรียนแบบร่วมมือกันเรียนรู้
    2) นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความน่าจะเป็น คิดเป็นคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 71.59 และมีจำนวนนักเรียนร้อยละ 78.26 ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตั้งแต่ร้อยละ 70 ขึ้นไป ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด

[/blockquote]
ความคิดเห็นที่ #2 wichian 09 ก.ย. 2556 เวลา 14:09 น. 1.2.xxx.xxx
ร่วมแสดงความคิดเห็น
เงื่อนไข การร่วมแสดงความคิดเห็น!

ข้อความที่ท่านได้อ่าน เกิดจากการเขียนโดยสาธารณชน และส่งขึ้นมาแบบอัตโนมัติ เจ้าของเว็บไซต์ไม่รับผิดชอบต่อข้อความใดๆ ทั้งสิ้น เพราะไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นความจริงหรือ ชื่อผู้เขียนที่ได้เห็นคือชื่อจริง ผู้อ่านจึงควรใช้วิจารณญาณในการกลั่นกรอง และถ้าท่านพบเห็นข้อความใดที่ขัดต่อกฎหมายและศีลธรรม หรือเป็นการกลั่นแกล้งเพื่อให้เกิดความเสียหาย ต่อบุคคล หรือหน่วยงานใด กรุณาแจ้งมาที่ แนะนำติชม เพื่อให้ผู้ควบคุมระบบทราบและทำการลบข้อความนั้น ออกจากระบบต่อไป

ขอขอบพระคุณล่วงหน้า มา ณ โอกาสนี้

^